Sen, K. (2018). What impedes structural transformation in Asia? Asia-Pacific Sustainable Development Journal, 25(1), 1-35.

ผู้แต่ง

  • natthaphon nkhanthachai Kasem bundit University

คำสำคัญ:

การถ่ายโอนแรงงาน, ความล้มเหลวของกลไกตลาด, ความล้มเหลวอขงกลไกภาครัฐ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ เพื่อระบุปัญหาการถ่ายโอนแรงงานจากภาคเกษตรกรรมสู่ภาคอุตสาหกรรมจากประเทศจีน อินเดีย และประเทศไทย โดยพิจารณาตัวแปรด้านกลไกตลาดและกลไกภาครัฐบาล วิธีการวิจัย การวิจัยโดยใช้ข้อมูลจากเอกสารเป็นกรณีศึกษา ผลการวิจัย การถ่ายโอนแรงงานจากภาคเกษตรกรรมซึ่งผลิตภาพต่ำไปสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริการซึ่งผลิตภาพสูงเป็นความจำเป็นในการพัฒนาเศรษฐกิจ ตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จ เช่น เกาหลีใต้ และไต้หวัน เป็นต้น ความล้มเหลวของกลไกตลาดในประเทศ กรณีศึกษา ประกอบด้วย โครงสร้างตลาดแบบผูกขาด การไม่สมบูรณ์ของตลาดสินเชื่อ การสะสมทุนมนุษย์ ส่วนความล้มเหลวของภาครัฐ ได้แก่ กฎหมายแรงงาน กฎหมายการปฏิรูปที่ดินและข้อบังคับเกี่ยวกับการย้ายถิ่นของแรงงาน เป็นต้น  นัยทางทฤษฎี/นโยบาย รัฐบาลควรเพิ่มศักยภาพของสถาบันให้มีขีดความสามารถสูงขึ้น เพื่อทำหน้าที่ปรับแก้ความล้มเหลวของกลไกตลาด

References

Dabla – Noris, E. (2013). Benchmarking structural transformation across the world [IMF working paper, 13/176]. IMF.

Mankiw, G.N. (1988). Principles of economics. The Dryden Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-06

How to Cite

nkhanthachai, natthaphon. (2023). Sen, K. (2018). What impedes structural transformation in Asia? Asia-Pacific Sustainable Development Journal, 25(1), 1-35. วารสารเกษมบัณฑิต, 24(1), 132–136. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/265000