ภูมิทัศน์ศักดิ์สิทธิ์แห่งพื้นที่ต้นน้ำกับการเป็นเครื่องมือจัดการสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง : กรณีถ้ำใหญ่น้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์

Authors

  • พรหมปพร นวลแสง
  • ไพศาล เทพวงศ์ศิริรัตน์

Keywords:

Sacred landscape, Ritual, Built environment, ภูมิทัศน์ศักดิ์สิทธิ์ พิธีกรรม การสร้างสรรค์สภาพแวดล้อม ข้อตกลงทางสังคม Social agreement,

Abstract

Abstract

            

          The main objective of this research was to study the relationship between the community and the sacredness of Nam Nhao Cave in Phetchabun Province. The survey undertaken in three residential villages in Tambon Lakdan and surrounding areas revealed that the sacred nature of Nam Nhao Cave area was retained both in abstract and concrete terms by the people residing in the community, not only through their practice of worship but also through a continued development of the residence and environmental planning to enhance the sacred nature of the cave. Moreover, a significant factor contributing to the continued existence of the sacredness in the area was a series of regulations establised by mutual agreement in the society, which defined what was regarded as status and roles of the sacredness, and how the community interacted with these elements. These regulations could then be viewed as a tool for managing the sacred landscape.

บทคัดย่อ

            การวิจัยครั้งนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและธรรมชาติของความศักดิ์สิทธิ์ถ้ำใหญ่น้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยการสำรวจข้อมูล 3 หมู่บ้านในตำบลหลักด่าน และพื้นที่โดยรอบ ทำให้เห็นถึงการคงอยู่ของความศักดิ์สิทธิ์ของพื้นที่ถ้ำใหญ่น้ำหนาวแสดงออกทางนามธรรมและรูปธรรมอันได้แก่ การประกอบพิธีกรรมและการสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมศักดิ์สิทธิ์ของที่อยู่อาศัย การวางผัง นอกจากองค์ประกอบดังกล่าวแล้วการศึกษานี้ยังพบว่า สิ่งสำคัญในการคงอยู่ของความศักดิ์สิทธิ์ในพื้นที่ คือ การกำหนดกฎระเบียบที่เป็นข้อตกลงร่วมกันทางสังคมในการดำรงชีวิตและการกำหนดบทบาทและหน้าที่ของความศักดิ์สิทธิ์ ที่เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการภูมิทัศน์ศักดิ์สิทธิ์

Downloads

How to Cite

นวลแสง พ., & เทพวงศ์ศิริรัตน์ ไ. (2015). ภูมิทัศน์ศักดิ์สิทธิ์แห่งพื้นที่ต้นน้ำกับการเป็นเครื่องมือจัดการสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง : กรณีถ้ำใหญ่น้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์. KASEM BUNDIT JOURNAL, 16(1), 32–54. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/34661

Issue

Section

Research articles