Aristotle’s Concept of Polity and Its Relevance to the 2550 B.E. Constitution of the Kingdom of Thailand

Authors

  • Pornthep chantraiph S.C. Genneral Trade Group Company Limited

Keywords:

Polity, Aristotle, Constitution of the Kingdom of Thailand. การเมือง อริสโตเติล รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

Abstract

Abstract

            This research aimed to put forward the arguments for and against Aristotle’s concept of polity, in the context of the development of the ‘Greek’s City-State’ as well as the relevance of Aristotle’s concept of Polity to the 2550 B.E. Constitution of the Kingdom of Thailand. According to Aristotle, the concept of ‘polity’ referred to the rule by the many for common interests. Polity distinguished rulers from the ruled based on their perfect virtues. The goal of Aristotle’s concept of ‘polity’ was not only to accomplish the best possible form of government, but also to achieve the form of the best life. Meanwhile, polity was against totalitarianism by upholding a participation of the citizens and setting-up laws to limit the abuse of power and to ensure that any bad government could be deposed and replaced peacefully. As for as the relevance of Aristotle’s concept of Polity and its relevance to the 2550 B.E. Constitution of the Kingdom of Thailand, it was argued that almost all Aristotle’s key characteristics of polity are relevant to the 2550 B.E. Constitution of the Kingdom of Thailand.

effectiveness within the framework of the balanced score card at the statistical significance level of 0.05.   

 

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ ข้อสนับสนุนตลอดจนข้อโต้แย้งของแนวคิด “โพลิตี้” ของอริสโตเติล ในบริบทการพัฒนา “นครรัฐกรีก” รวมทั้งการตรวจสอบและถกเถียงแนวคิด “โพลิตี้” ของอริสโตเติลในประเด็นที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยปี พ.ศ. 2550 ในทัศนของอริสโตเติลแนวคิด “รูปแบบรัฐธรรมนูญของอริสโตเติล” คือ การปกครองโดยคนจำนวนมากเพื่อประโยชน์ส่วนรวม “รูปแบบรัฐธรรมนูญของอริสโตเติล” แยกแยะผู้ปกครองจากผู้ได้รับการปกครองบนพื้นฐานคุณธรรมที่สมบูรณ์แบบ จุดหมายแนวคิดรูปแบบรัฐธรรมนูญของอริสโตเติลไม่ได้เป็นเพียงเพื่อให้บรรลุรูปแบบที่ดีที่สุดของการปกครองแต่ยังเพื่อให้บรรลุรูปแบบของชีวิตที่ดีที่สุด ในขณะเดียวกัน “รูปแบบรัฐธรรมนูญของอริสโตเติล” ยังต่อต้านลัทธิเผด็จการโดยสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและการจัดตั้งกฎหมายเพื่อจำกัดการใช้อำนาจในทางที่ผิดและเพื่อให้แน่ใจว่ารัฐบาลใด ๆ ที่ไม่ดีสามารถถูกปลดและถูกเปลี่ยนโดยความสงบเรียบร้อยและสันติ ในส่วนที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์ของแนวคิดรูปแบบรัฐธรรมนูญของอริสโตเติลกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยปี พ.ศ. 2550 พบว่าเกือบทุกคุณลักษณะสำคัญของแนวคิดรูปแบบรัฐธรรมนูญของอริสโตเติลมีความสัมพันธ์กันกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยปี พ.ศ. 2550

Downloads

Published

2016-12-29

How to Cite

chantraiph, P. (2016). Aristotle’s Concept of Polity and Its Relevance to the 2550 B.E. Constitution of the Kingdom of Thailand. KASEM BUNDIT JOURNAL, 17(2), 64–75. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/69402

Issue

Section

Research articles