Communication and Co-ordinating Roles of Hub Organisations in Management of Environmental Issues: A Feasibility Study of Thailand.

Authors

  • John R. Merrick
  • Sasiphan Bilmanoch

Keywords:

Hub resources, Interactive information exchange, Co-ordinated publicity, Multi-media participation ศูนย์กลางของการดำเนินงาน การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ความร่วมมือกันในการเผยแพร่ข่าวสาร การใช้ระบบการสื่อสารหลายช่องทาง

Abstract

Abstract

            With massive global and regional change the need for long-term co-ordination of remedial programmes for many environmental issues is apparent, combined with planning and organisation of information or publicity campaigns.  In this situation, where varying strategies or activities and extensive series of messages over very long periods of time are required, there are challenges in maintaining engagement of major stakeholders such as traditional mass media.   To achieve efficient long-term co-ordinated management of environmental problems, the concept of central hub organisations is proposed and detailed roles are explained, using select examples from Thailand.   Hubs are recommended on the basis of: changing environmental management strategies; increased multi-stakeholder involvement; evolving institutional roles; expanding demands for diverse specialist input; and increased access to new integrative internet technologies permitting rapid community feed-back and participation.

บทคัดย่อ

เป็นที่ประจักษ์ว่า ปัญหาการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมของโลกและของประเทศต่างๆทั่วโลกนั้น จำเป็นจะต้องมีการกำหนดแผนหรือแนวทางการปฏิบัติระยะยาวอย่างชัดเจนและมีความสอดคล้องประสานกันในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งยังต้องมีการวางแผนและการจัดการด้านข้อมูลข่าวสารหรือโครงการรณรงค์เพื่อการประชาสัมพันธ์อีกด้วย โดยในการดำเนินโครงการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมนั้น แม้ว่าในการดำเนินโครงการฯจะต้องมีการกำหนดกิจกรรมหรือกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างหลากหลาย รวมทั้งการจัดทำเอกสารเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆที่เกิดขึ้นในอดีตที่ผ่านแล้วก็ตาม แต่ก็ยังมีความจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญกับสื่อมวลชนกระแสหลักแบบดั้งเดิมและนำมาใช้ควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้เกิดความมีประสิทธิภาพของการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สอดประสานกันในระยะยาว เพื่อให้เข้าใจถึงการดำเนินการตามหลักคิดในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม จึงขอนำกรณีตัวอย่างของประเทศไทยมาอธิบายและแจกแจงรายละเอียดเพื่อให้เข้าใจถึงภารกิจในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการสอดประสานกันของปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ได้แก่ การปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม จำนวนของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มมากขึ้น พัฒนาการของกิจกรรมทางสังคมที่มีบทบาทแตกต่างไปจากเดิม ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก และการหลอมรวมของเทคโนโลยีสื่อใหม่คืออินเตอร์เน็ตที่เอื้ออำนวยให้ชุมชนสามารถมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว

Downloads

Published

2016-12-29

How to Cite

Merrick, J. R., & Bilmanoch, S. (2016). Communication and Co-ordinating Roles of Hub Organisations in Management of Environmental Issues: A Feasibility Study of Thailand. KASEM BUNDIT JOURNAL, 17(2), 175–191. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/69414

Issue

Section

Research articles