กระบวนการนโยบายสาธารณะในประเทศไทย

Authors

  • วรรณนภา วามานนท์

Keywords:

กระบวนการนโยบายสาธารณะ, นโยบายสาธารณะ, ประโยชน์สาธารณะ, ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย, Plublic Policy, Public Policy Process, Public Interest, Stakeholders, Public Dialogue

Abstract

กระบวนการนโยบายสาธารณะนั้นประกอบด้วยขั้นตอนส าคัญ คือการก่อตัวของนโยบาย การน า นโยบายไปปฏิบัติ และการประเมินนโยบาย ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องมีความเชื่อมโยงด้วยกันทุกขั้นตอน ส าหรับ นโยบายสาธารณะในประเทศไทย มักจะพบปัญหาในทุก ๆ ขั้นตอน คือ การก าหนดนโยบายไม่เป็นไปตาม ขั้นตอนกระบวนการนโยบาย การตัดสินใจในนโยบายไม่ได้ค านึงในหลาย ๆ มิติ ทางสังคม และ เศรษฐศาสตร์ในระดับชุมชน นโยบายไม่มีหลักเหตุผล เป็นการก าหนดนโยบายเพื่อการหาเสียงของพรรค การเมือง ไม่สามารถน าไปสู่การปฏิบัติได้จริง ไม่มีการศึกษาทางเลือกนโยบาย หรือการค้นคว้าวิจัยให้มี ข้อมูลเชิงประจักษ์ นโยบายขาดการศึกษาเรื่องผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ขาดการให้ประชาชนได้ มีส่วนรับรู้ในโยบายตั้งแต่จุดเริ่มต้น การตัดสินใจมักเป็นเรื่องของผู้มีอ านาจไม่ใช่ประชาชน บทบาทของ กลุ่มการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ท าให้นโยบายไม่สามารถตอบสนองความต้องการของสาธารณะได้ การ แก้ไขควรด าเนินการโดย ต้องสร้างเสรีภาพให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการก าหนดนโยบาย ต้องมีหลักคิด เชิงทฤษฎีหรือมีเหตุผลสนับสนุน ควรมีหน่วยงานด าเนินการวิเคราะห์ทางเลือกนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม และวิเคราะห์อย่างมืออาชีพ เปิดโอกาสให้มีเวทีสาธารณะเพื่อการสร้างสรรค์แนวคิดนโยบายนวัตกรรมที่ไม่ ยึดติดอยู่ในกรอบเดิม ๆ และการตัดสินใจเลือกนโยบายต้องค านึงถึงผลประโยชน์สาธารณะเป็นที่ตั้ง

Public policy process can be seen as an intergraded process of formation, implementation and evaluation. Thai public policies often encounter problems in various stages: policy formulation and implementation not conform to the policy processes; policy decisions often ignore social dimension and microeconomic conditions at the community level; irrational policy; no study for policy alternatives or empirical research; lack of study on policy impacts both directly and indirectly; lack of public awareness since its formulation; decisions on policy is often a matter of authority, government officials and executives, not from the public; political and interest-based formulation; political and interest groups cannot meet the public demand. The author proposes solutions to these problems as follows: create people's freedom to participate in policy formulation; public policy must be based on theoretical or logical reasoning; there should be an agency to conduct an analysis of policy options tangibly and professionally; provide the public with a chance to create innovative ideas that do not strict to the old framework; and policy decisions must take into account public interest.

Downloads

Published

2018-03-31

How to Cite

วามานนท์ ว. (2018). กระบวนการนโยบายสาธารณะในประเทศไทย. KASEM BUNDIT JOURNAL, 19(March), 197–207. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/86950

Issue

Section

Academic articles