การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • JIRANON PUTTA

คำสำคัญ:

ผลการดำเนินงาน, การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, ปัจจัยที่มีผล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลการดำเนินงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ตัวแปรที่มีผลต่อผลการดำเนินงานดังกล่าว เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 395 แห่ง จากบุคลากรที่รับผิดชอบงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเป็นขั้นตอน  ผลการศึกษาพบว่า ผลการดำเนินงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาพรวมของประเทศไทยอยู่ในระดับปานกลาง  เครื่องมือ เครื่องจักร ยานพาหนะ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก การจัดกิจกรรม/การดำเนินงาน และด้านการทบทวนและตรวจสอบแผนการดำเนินงานมีผลต่อความพึงพอใจของประชาชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  ผู้บริหารและบุคลากร การจัดกิจกรรม/การดำเนินงาน และการทบทวนและตรวจสอบแผนการดำเนินงานมีผลต่อความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวของประชาชนหากเกิดสาธารณภัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  และการจัดกิจกรรม/การดำเนินงาน และด้านการทบทวนและตรวจสอบแผนการดำเนินงานมีผลต่อความครอบคลุมในการได้รับบริการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

Department of Local Administration. (2014). Summary Data of Local Organization in Thailand. Retrieved September 9, 2014 from http://www.dla.go.th/work/abt/
Kampongdang, Thitiphattra and Montri Kunphoommarl. (2553). Public Participation in Community Based Disaster Management Case Study: Tambon Chompoo, Amphur Muang, Phitsanulok Province. Retrieved from http://www.social.nu.ac.th/th/IS2553.php. (12/02/ 2559)
Office of the National Economics and Social Development Board. (2554). Disaster Management and Recovery: A Case Study of Thailand and foreign countries. Bangkok. Office of the National Economics and Social Development Board.
Promsri, Chaiyaset. (2557). Natural Disaster Preparedness Awareness: Literature Review. Executive Journal, 34; 92-115.
Royal Thai Government Gazette. (2496). Municipal Act, B.E. 2496. Royal Thai Government Gazette.72 (14A): 222-257.
Royal Thai Government Gazette. (2537). Tambon Council and Tambon Administrative Authority Act, B.E. 2537. Royal Thai Government Gazette.111 (53A): 11-35.
Royal Thai Government Gazette. (2542). Determining Plans and Process of Decentralization to Local Government Organization Act B.E. 2542 (1999). Royal Thai Government Gazette.116 (114A): 48-66.
Royal Thai Government Gazette. (2550). Public Disaster Prevention and Mitigation Act, B.E. 2550. Royal Thai Government Gazette.124 (52A): 1-23.
Ubalee, Chuwong. (2557). Disaster management: role of local government Chantaburi province. Journal of Thai Ombudsman, 7; 51-69.
Wongwatthanaohong, Kampanart. (2556). Alternative: Implementation of Disaster Prevention and Mitigation Policy: A Case Study of Six Tsunami-Risk Andaman Coastal Provinces. The 5th National Graduate Research Conference Bangkok: Ramkhamhaeng University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-13

How to Cite

PUTTA, J. (2018). การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. วารสารเกษมบัณฑิต, 19(1), 31–44. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/127775