การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมสินค้าอาหารเอกลักษณ์ของจังหวัดชายแดนภาคใต้
Keywords:
อาหารเอกลักษณ์ของจังหวัดชายเเดนภาคใต้, ตราสินค้า, บรรจุภัณฑ์อาหาร, Identity food of Southern border province, brand, food packageAbstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ (1) เพื่อพัฒนาอาหารเอกลักษณ์ของจังหวัด ชายเเดนภาคใต้ (2) เพื่อออกแบบตราสินค้าเเละบรรจุภัณฑ์สาหรับอาหารเอกลักษณ์ของจังหวัดชายเเดนภาคใต้ (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่ผู้บริโภคมีต่ออาหารเเละบรรจุภัณฑ์อาหารเอกลักษณ์ของจังหวัดชายเเดนภาคใต้ ผู้วิจัยศึกษาจากกลุ่มผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือกจากสานักงานอุตสาหกรรม 5 จังหวัด ได้เเก่ สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา เเละนราธิวาส ในขั้นตอนการดาเนินงานมีการจัด Workshop เพื่อระดมความคิดของผู้ประกอบการ ที่ปรึกษาด้านอาหาร เเละนักออกแบบ โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประเมินผลการพัฒนาอาหารเเละข้อมูลบนบรรจุภัณฑ์ ผลการพัฒนาอาหาร พบว่า กลุ่มอาชีพผลิตภัณฑ์น้าตาลโตนด จ.สงขลา พัฒนาขนมดู ตรา ดาวราย โดยใช้วัตถุดิบในชุมชน ตราสินค้าเป็นรูปดาวเเละภูเขา บรรจุภัณฑ์เป็นถุงฟอยด์เพื่อป้องกันความชื้นเเละติดฉลากให้ข้อมูล วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเเม่บ้านเกษตรกรทุ่งพัก จ.สตูล พัฒนาโรตีกรอบงาดา ตราเเพงพวย ให้มีความกรอบเเละรสชาติเข้มข้นของพริกไทยเเละงาดา ตราสินค้าเป็นรูปดอกเเพงพวย บรรจุภัณฑ์เป็นกล่องกระดาษ ใช้ภาพประกอบที่ตัดทอนมากจากเมล็ดข้าวซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักของผลิตภัณฑ์ กลุ่มข้าวเกรียบปลา ตรา ซีรีน จ.ปัตตานี พัฒนาสูตรเป็นปลาบอลปรุงรสด้วยน้าจิ้ม ตราสินค้าเป็นรูปปลา เเละใช้บรรจุภัณฑ์เป็นกล่องกระดาษ มีภาพกราฟิกนาเสนอวิถีชีวิตชาวประมง กลุ่มเกษตรยั่งยืน จ.ยะลา พัฒนากล้วยหินฉาบรสชาเขียว ตรา ส.วิจิตร โดยใช้กล้วยหินหั่นบางเเละเคลือบชาเขียว ตราสินค้านาเสนอความสามัคคีของกลุ่ม บรรจุภัณฑ์เป็นถุงฟอยด์บรรจุในกล่องกระดาษ ใช้ภาพกราฟิกเป็นวิถีชีวิตเเละบรรยากาศการทาสวนของชาวไทยพุทธ-มุสลิม กลุ่มมิงทุเรียนกวน จ.นราธิวาส พัฒนาทุเรียนกวนไส้มังคุด ตรา มิงทุเรียนบูกิต ใช้ตราสินค้าที่นาเสนอ ภาพผลไม้ เรือกอเเละ ทะเล เเละภูเขา บรรจุภัณฑ์เป็นถุงฟอยด์เพื่อป้องกันความชื้นเเละติดฉลากให้ข้อมูล ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคโดยวิธีการสารวจ (Survey method) ด้วยแบบสอบถามเเละเลือกสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental sampling) บริเวณถนนคนเดินจังหวัดสงขลา โดยประมาณการผู้เข้าร่วมงานถนนคนเดิน 750 คนต่อวัน หรือจานวน 1,500 คนในระยะเวลา 2 วัน เเละใช้ตารางของ Krejcie และ Morgan เพื่อหาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จากตารางจานวนประชากร 1,500 คน จะได้จานวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 152 คน ผลการศึกษาความพึงพอใจเป็นรายผลิตภัณฑ์ พบว่า โรตีกรอบงาดา จ.สตูล สามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ของท้องถิ่นภาคใต้ได้ ร้อยละ 97.2 บรรจุภัณฑ์โรตีกรอบสามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ท้องถิ่นภาคใต้ได้ ร้อยละ 88.2 ขนมดู จ.สงขลา สามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ท้องถิ่นภาคใต้ได้ ร้อยละ 79 บรรจุภัณฑ์ขนมดูสามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ท้องถิ่นภาคใต้ได้ ร้อยละ 74.5 ข้าวเกรียบปลา ตรา ซีรีน จ.ปัตตานี สามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ภาคใต้ได้ ร้อยละ 71.8 กล้วยหินฉาบรสชาเขียว จ.ยะลา สามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ของภาคใต้ได้ ร้อยละ 62.7 บรรจุภัณฑ์กล้วยหินฉาบรสชาเขียวสามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ของภาคใต้ได้ ร้อยละ 65.5 ทุเรียนกวนไส้มังคุด จ.นราธิวาส สามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ของภาคใต้ได้ ร้อยละ 61.8 บรรจุภัณฑ์ทุเรียนไส้มังคุดสามารถบ่งบอกเอกลักษณ์ของภาคใต้ได้ ร้อยละ 68.2
Brand and Packaging Design for Promoting Food Product Identity in Southern Border Province
The purpose of this research are : (1) to develop identity food in Southern border province (2) to design brand product and package for identity of southern border province (3) to learn customer satisfaction toward identity food and package of southern border province. Researchers learnt from entrepreneur groups, collected from industry offices in 5 provinces such as Songkhla, Satun, Pattani, Yala and Narathiwat. In operating procedure, there are workshop to brainstorm entrepreneurs such as food consultants and designers. Moreover, public health officer evaluates food and information on package development. They found that occupational class of jiggery product, Songkhla is developed from Doo dessert from Daorai brand. It’s used materials from this community such as using star and mountain image. The package is used foil bags for damp protection and attach information label. Tookpak agricultural house wife SME community, Satun is developed from crisp pancake with black sesame seeds in Pangpuag brand. It is crisp and rich taste of pepper and black seame seeds with Pangpuag brand. Futhermore, the package is paper box that use rice seeds image, is the main material product. Fish crisp rice group, Seereen brand, Pattani is developed formula to ball fish combine with sauce, fish image brand, using paper box package and graphic image to present fishermen. Sustainable agriculture, Yala is developed saba banana with green tea taste by Wichit brand. Saba banana is cut slightly and covered with green tea. This brand is presented group harmony, package is used by foil bags that is contained in paper box and using way of life and gardening atmosphere of buddhism and Muslim graphic image. Preserved durain Ming group, Naratiwat is developed from preserved mangostreen, Ming Turien Bookit Brand. This brand presented fruit, Kolek boat, sea and mountain and using foil bags for packaging for damp protection. This research learned customer satisfaction by survey methods that using questionnaires and accidental sampling. 750 people per day are in Songkhla walking street or 1,500 people are there for 2 days. Researchers used Krejcie and Morgan’s table for finding sample size. The table’s found that if there are 1,500 people, the sample group’s got 152 people. The individual product satisfaction results found that crisp pancake with black sesame seeds in Satun can inform the identity of local south 97.2 percent. Package of crisp pancake can inform the identity of local south 88.2 percent. Doo dessert in Songkhla can inform the identity of local south 79 percent. Package of crisp pancake can inform the identity of local south 74.5 percent. Fish chips in Pattani can inform the identity of local south 71.8 percent. Package of fish chip can inform the identity of local south 69 percent. Saba banana with green tea taste in Yala can inform the identity of local south 62.7 percent. Package of Saba banana with green tea taste can inform the identity of local south 65.5 percent. Preserved mangostreen in Narathiwat can inform the identity of local south 61.8 percent. Package of preserved mangostreen can inform the identity of local south 68.8 percent.
Downloads
Issue
Section
License
ข้อความ ข้อคิดเห็น ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ แผนภูมิ แผนผัง เป็นต้น ที่ปรากฏและแสดงในบทความต่างๆ ในวารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร ถือเป็นความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้นๆ มิใช่เป็นความรับผิดชอบใดๆ ของวารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร ถือเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับการอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครก่อนเท่านั้น