พัฒนาการของแนวคิดมานุษยวิทยาดนตรีในสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • สงกรานต์ สมจันทร์

คำสำคัญ:

ดนตรีวิทยาชาติพันธุ์, มานุษยวิทยาดนตรี, พัฒนาการในสังคมไทย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการแนวคิดมานุษยวิทยาดนตรีในสังคมไทย ผลการศึกษาพบว่า การศึกษามานุษยวิทยาดนตรีมีพัฒนาการมาจากวิชาดนตรีวิทยาเปรียบเทียบในยุโรป ในระยะแรกความหมายของมานุษยวิทยาดนตรีเป็นการศึกษาดนตรีที่ไม่ใช่ตะวันตก ขณะที่การศึกษาตัวดนตรีตะวันตกซึ่งเป็นมุมมองแบบอาณานิคมนั้นถือว่าเป็นการศึกษาทางดนตรีวิทยา เมื่อการศึกษาทางด้านมานุษยวิทยาในอเมริกาได้เติบโตและทำให้นิยามความหมายการศึกษาทางดนตรีดังกล่าวเปลี่ยนไปสู่การศึกษาดนตรีในฐานะที่เป็นวัฒนธรรม ในสังคมไทย วิชามานุษยวิทยาดนตรีได้รับอานิสงส์จากการเปิดหลักสูตรดนตรีศึกษาเพื่อผลิตครูดนตรี ตลอดจนวิชาคติชนวิทยาที่ศึกษาและสำรวจวัฒนธรรมพื้นบ้านรวมถึงดนตรีด้วย การนำเข้าแนวคิดมานุษยวิทยาดนตรีในระบบการศึกษาดนตรีของไทยเกิดความสับสนในนิยามความหมายระหว่างดนตรีวิทยาและมานุษยวิทยาดนตรีว่าควรเป็นเช่นใด อย่างไรก็ตาม ความเข้าใจในบริบทพัฒนาการทางสังคมที่อยู่เบื้องหลังการสถาปนาวิชานี้ยังเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องทำความเข้าใจ ตลอดจนนักมานุษยวิทยาดนตรีต้องมีความเข้าใจแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาให้มากขึ้น เพื่อที่จะสามารถอธิบายทั้งตัวดนตรีและปรากฏการณ์ทางดนตรีในโลกสมัยใหม่ได้อย่างมีมิติที่หลากหลายและแหลมคม

References

Dyck, Gerald P. The Vanishing Phia: An Ethnomusicological Photo Story. Vol. 2, in Selected Reports in Ethnomusicology, edited by David Morton, 217-229. Los Angeles, California: University of California Los Angeles, 1975.
Dyck, Gerald P. "They Also Serve." In Selected Reports in Ethnomusicology, edited by David Morton, 205-216. Los Angeles, California: University of California Los Angeles, 1975.
Glen Haydon. Introduction to Musicology: A Survey of the Fields, Systematic & Historical, of Musical Knowledge & Research. New York: Prentice-Hall, 1946.
Helmholtz, Hermann. On the Sensations of Tone as a Physiological Basis for the Theory of Music. 3. Cambridge: Cambridge University Press, 2009.
Hood, Mantle. "The Challenge of "Bi-Musicality"." Ethnomusicology (University of Illinois Press) 4, no. 2 (May 1960): 55-59.
Indiana University Library. Boas and Herzog Recordings of Cranmer. April 11, 2020. https://libraries.indiana.edu/boas-herzog.
Kunst, Jaap. Ethnomusicology: A study of its nature, its problems, methods and representative personalities to which is added a bibliography. The Hague: Martinus Nijhoff, 1959.
List, George . "Speech Melody and Song Melody in Central Thailand." Ethnomusicology (University of Illinois Press), January 1961: 16-32.
List, George. "Ethnomusicology: A Discipline Defined." Ethnomusicology (University of Illinois Press), January 1979: 1-4.
Logan, Maurice S. Musicology : A Text-Book for Schools and for General Use. New York: Cochrane Publishing Company, 1909.
McCollum, Jonathan , and David G. Hebert, . Theory and Method in Historical Ethnomusicology. New York: Lexington Books, 2014.
Merriam, Alan P. . The Anthropology of Music. Chicago: Northwestern University Press, 1964.
Merriam, Alan P. "Definitions of "Comparative Musicology" and "Ethnomusicology": An Historical-Theoretical." Ethnomusicology 21, no. 2 (May 1977): 189-204.
Miller, Terry E. "Kaen playing and Mawlum singing in Northeastern Thailand." Doctoral Dissertation in Musicology, Indiana University, 1977.
Moore, Sidney. "Thai Songs in 7/4 Meter." Ethnomusicology (University of Illinois Press), May 1969: 309-312.
Moro, Pamela. "Thai Music and Musicians in Contemporary Bangkok: An Ethnography." Doctoral dissertation in Anthropology, University of California, Berkeley, 1988.
Morton, David, ed. Selected Reports in Ethnomusicology. Los Angeles, California: University of California Los Angeles, 1975.
Morton, David. "The traditional instrumental music of Thailand." Doctoral Dissertation, Department of Music, University of California at Los Angeles, 1964.
Mugglestone, Erica, and Guido Adler. "Guido Adler's "The Scope, Method, and Aim of Musicology" (1885): An English Translation with an Historico-Analytical Commentary." Yearbook for Traditional Music 13 (1981): 1-21.
Nettl, Bruno. The study of ethnomusicology: Twenty-Nine Issues and Concepts. Urbana: University of Illinois Press, 1983.
—. Theory and Method in Ethnomusicology. New York: Free Press of Glencoe, 1964.
Nettl, Bruno, and Philip V. Bohlman, . Comparative Musicology and Anthropology of Music: Essays on the Hstory of Ethnomusicology. Chicago: University of Chicago Press, 1991.
Ruby, Jay. "Franz Boas and Early Camera Study of Behavior." Kinesics Report 3, no. 1 (1980): 6-11.
Society for Ethnomusicology. About Ethnomusicology. 2016. https://www.ethnomusicology.org/page/AboutEthnomusicol.
Stock, Jonathan P. J. "Alexander J. Ellis and His Place in the History of Ethnomusicology." Ethnomusicology 51, no. 2 (2007): 306-325.
Wong, Deborah Anne. "The empowered teacher: Ritual, performance, and epistemology in contemporary Bangkok." Doctoral dissertation in Ethnomusocology, University of Michigan, 1991.
Wong, Deborah. Sounding the Center: History and Aesthetics in Thai Buddhist Performance. Chicago: University of Chicago Press, 2001.
Wongtheet, Pranee . "Relationship of music and society as seen in the Thai case." Master Thesis, Cornell University, 1973.
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. เขียนชนบทให้เป็นชาติ กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น. กรุงเทพฯ: มติชน, 2562.
เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. “การศึกษาดนตรีไทย ทางเลือกแห่งนิยามดนตรีวิทยาหรือมนุษยสังคีตวิทยา.” คำดนตรี, 2539.
โรงเรียนศิลปากร แผนกนาฏดุริยางค์. ที่ระลึกการเปิดโรงเรียนศิลปากร แผนกนาฏดุริยางค์. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2481.
ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. “มานุษยดนตรีวิทยา.” ปาริชาติ 8, 1 (2537): 5-11.
ปราณี วงษ์เทศ. พื้นบ้านพื้นเมือง. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์, 2525.
ปัญญา รุ่งเรือง. หลักวิชามานุษยดุริยางควิทยา. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546.
พงศ์ศิลป์ อรุณรัตน์. “102 ปีแห่งการบันทึกผลงานดนตรีไทยทาง Ethnomusicology.” มหาวิทยาลัยศิลปากร 21-22, 2 (2544): 45-63.
พชร สุวรรณภาชน์. “การประมวลความรู้และพัฒนาการของวัฒนธรรมการดนตรี.” ภาษาและวัฒนธรรม 27, 1 (2551): 75-98.
พัฒนา กิติอาษา. “ดนตรีอีสาน แรงงานอารมณ์ คนพลัดถิ่น.” ใน รายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ โครงการจัดประชุมเรื่อง ทบทวนและประมวลองค์ความรู้เรื่อง "ดนตรีในมิติวัฒนธรรม", 268-310. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552.
วสันต์ ปัญญาแก้ว. มานุษยวิทยา-ล้านนาคดี. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2562.
ศรันย์ นักรบ. ดนตรีชาติพันธุ์วิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2557.
สุกรี เจริญสุข. “ดุริยางคศาสตร์ชาติพันธุ์.” ถนนดนตรี 1, 12 (ตุลาคม 2530): 38-41.
—. อาศรมมิวสิก: ปูมการศึกษาดนตรี. 1 ธันวาคม 2562. https://www.matichon.co.th/prachachuen/news_1774393.
อมรา พงศาพิชญ์. วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์: วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537.
อานันท์ นาคคง. “เส้นทางสายมานุษยวิทยาดนตรีในประเทศไทย.” ใน รายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ โครงการจัดประชุมเรื่อง ทบทวนและประมวลองค์ความรู้เรื่อง "ดนตรีในมิติวัฒนธรรม", 9-60. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-30

How to Cite

สมจันทร์ สงกรานต์. 2020. “พัฒนาการของแนวคิดมานุษยวิทยาดนตรีในสังคมไทย”. สังคมศาสตร์วารสารวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 32 (1):120-49. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/241115.