แรงงานภาคเกษตรเป็นแรงงานเสี่ยงหรือไม่? : การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตทางสังคมของชาวนาไทยและเวียดนาม

Main Article Content

วีระ หวังสัจจะโชค
ธัชชนก สัตยวินิจ

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่อง “แรงงานเสี่ยง” เป็นประเด็นสำคัญในการทำความเข้าในระบบทุนนิยมในศตวรรษที่ 21 ที่พยายามอธิบายการจ้างแรงงานนอกระบบในพื้นที่เมือง อย่างไรก็ดี งานวิจัยฉบับนี้พยายามอธิบายว่าในแรงงานภาคเกษตรสามารถใช้กรอบการวิเคราะห์แรงงานเสี่ยงได้เช่นเดียวกัน โดยใช้วิธีการศึกษาจากการสำรวจเอกสารและการลงพื้นที่วิจัยสนามพื้นที่เปรียบเทียบจังหวัดฉะเชิงเทรา สำหรับประเทศไทย และพื้นที่ฮ่านาม บริเวณลุ่มแม่น้ำแดงในประเทศเวียดนาม ด้วยวิธีการสัมภาษณ์และเสวนากลุ่ม ค้นพบว่าเนื่องจากแรงงานในภาคเกษตรก็ต้องเผชิญกับสถานะแรงงานเสี่ยงเช่นเดียวกัน ด้วยการศึกษาวิถีการทำงานและคุณภาพชีวิตทางสังคม ทั้งในด้านของงานที่มีลักษณะชั่วคราว ไม่มีความแน่นอนในอาชีพ ขาดสวัสดิการทางสังคม และการทำงานไม่สามารถมองเห็นอนาคตในชีวิต ทำให้ชาวนาและเกษตรกรไทยและเวียดนามต่างอยู่ในสภาวะงานเสี่ยงและกลายเป็นแรงงานเสี่ยงในฐานะชนชั้นใหม่ของระบบเศรษฐกิจ

Article Details

How to Cite
หวังสัจจะโชค ว., & สัตยวินิจ ธ. . (2020). แรงงานภาคเกษตรเป็นแรงงานเสี่ยงหรือไม่? : การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตทางสังคมของชาวนาไทยและเวียดนาม. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 32(1), 88–119. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/241174
บท
บทความวิจัย

References

แบ๊งค์ งานอรุณโชติ และคณะ. ม.ป.ป. สถานะ ความใฝ่ฝัน และมาตราการเพื่อแรงงานนอกระบบ, ม.ป.ท.: เครือข่ายวิชาการเพื่อสังคมที่เป็นธรรม.
มูลนิธิชีวิตไท. 2560. วิกฤตชาวนา การปรับตัวครั้งใหม่เพื่อความอยู่รอด, เข้าถึงวันที่ 3 มิถุนายน 2561, URL: http://www.landactionthai.org/land/index.php?option=com_content&view=article&id=1841:วิกฤตชาวนา-การปรับตัวครั้งใหม่เพื่อความอยู่รอด&catid=85&Itemid=591.
ACTRAV. 2011. Policies and Regulations to Combat Precarious Employment, Switzerland: International Labour Organization.
Andriesse, E., and Phommalath, A. 2012. “Provincial Poverty Dynamics in Lao PDR: A Case Study of Savannakhet” Journal of Current Southeast Asian affairs, 31(3), pp. 3-27.
Asian Development Bank (ADB). 2013. The Social Protection Index: Assessing Results for Asia and the Pacific, Metro Manila, Asian Development Bank.
Bunnell, T. 2016. “Teachers in International Schools: A Global Educational ‘Precariat’?”. Globalisation, Societies and Education, 14(4), pp. 543-559.
Cahill, Michael. 2003. “The Environmental and Green Social Policy” in John Baldock, Nick Manning, and Sarah Vickerstaff (eds.) Social Policy, 2nd edition, Oxford: Oxford University Press, pp. 554-576.
Chang, D. O. 2009. “Informalising Labour in Asia's Global Factory”. Journal of contemporary Asia, 39 (2), pp. 161-179.
Chang, D. O. 2011. “The Rise of East Asia and Classes of Informal Labour”. In Power-Point Presentation at Sawyer Seminar Colloquium, Chapel Hill, NC. Retrieved from http://sawyerseminar.web.unc.edu/papers-and-other-readings.
Foster, John Bellamy. 1999. Marx’s Theory of Metabolic Rift: Classical Foundations for Environmental Sociology, American Journal of Sociology, 105 (2), pp. 366-405.
Foster, John Bellamy. 2000. Marx’s Ecology: Materialism and Nature, NY: Monthly Review Press.
Foster, John Bellamy, Brett Clark, ad Richard York. 2010. The Ecological Rift: Capitalism’s War on the Earth, NY: Monthly Review Press.
Handayani, S. W. and Babajanian, B. 2012. Social Protection for Older Persons Social Pensions in Asia. Mandaluyong: Asian Development Bank.
Martin, S. M., Lorenzen, K., & Bunnefeld, N. 2013. “Fishing Farmers: Fishing, Livelihood Diversification and Poverty in Rural Laos”. Human Ecology, 41(5), pp. 737-747.
Popkin, Samuel L. 1979. The Rational Peasant: The Political Economy of Rural Society in Vietnam, Berkeley: University of California Press.
Rigg, J. D. 2006. “Forests, Marketization, Livelihoods and the Poor in the Lao PDR”. Land Degradation & Development, 17(2), pp. 123-133.
Standing, G. 2011. The Precariat: The New Dangerous Class, London: Bloomsbury Academic.
Standing, G. 2013. “Defining the Precariat: A Class in the Making”. Eurozine. pp. 1-7.
Standing, G. .2014. “The Precariat and Class Struggle” (trans.) Revista Crítica de Ciências Sociais, 103, pp. 9-24.
Yin, Robert K. 2009. Case Study Research: Design and Methods, 4th edition, London: SAGE.