การจัดการเรียนรู้ด้วยด้วยแบบฝึกเซอร์นีเพื่อพัฒนาความสามารถในการบรรเลงเปียโนของนักศึกษา สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

作者

  • ธัญชนา ชัยวิรัตน์ Thepsatri Rajabhat University

关键词:

การบรรเลงเปียโน, การพัฒนาความสามารถ, แบบฝึกเซอร์นี

摘要

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกเซอร์นีในการพัฒนาทักษะการบรรเลงเปียโนสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีที่มีเกณฑ์ประสิทธิภาพ 70/70 และศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกเซอร์นี กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยเป็นนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาปฏิบัติเปียโนพื้นฐาน ในภาคการศึกษาที่ 1/2561 จำนวน 21 คน โดยได้มาจากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้งานวิจัยประกอบด้วย 1. แบบฝึกเซอร์นี 2. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกเซอร์นี

ผลจากการวิจัย พบว่า แบบฝึกเซอร์นี มีประสิทธิภาพเท่ากับ 70.18/80.61 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ประสิทธิภาพที่กำหนดไว้และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อ การจัดการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกเซอร์นีอยู่ในระดับมากที่สุด ( gif.latex?\bar{x} = 4.57) จากผลที่เกิดขึ้น จึงนับว่าแบบฝึกนี้เป็นเครื่องมือที่สามารถนำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี และเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและพัฒนาทักษะการเรียนดนตรีของผู้เรียนได้

参考

โกวิทย์ ขันธศิริ. (2558). ดุริยางค์ตะวันตก (เบื้องต้น) (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จงรัก พุกะณานนท์. (2541). หลักการสอนเปียโน. กรุงเทพฯ: โอเอสพริ้นติ้งเฮาส์.

ดวงมณี กันทะยอม. (2551). การใช้แบบฝึกการคิดสร้างสรรค์ในการสอนเขียนความเรียงเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โรงเรียนพาณิชยการเชียงใหม่. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทิศนา แขมมณี. (2564). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เบญจนี สุคันธเมศวร์. (2558). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้มีวินัยและความรับผิดชอบของนักเรียนระดับชั้น ปวช. 2/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ.

ไพศาล สุวรรณน้อย. (2558). เอกสารประกอบการบรรยายโครงการพัฒนาการเรียนการสอน: การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning: PBL). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

รักษ์ศิริ แพงป้อง. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินระดับหูหนวกจากการสอนแบบ POSSE ร่วมกับสื่อวิดิทัศน์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วราพรรณ วัชรีรัตน์. (2554). การสร้างชุดการสอนเปียโนสำหรับนักเรียนเปียโนหลักสูตรชั้นต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ศศี พงศ์สรายุทธ. (2556). นวัตกรรมฝึกหัดบทเพลงเปียโนสำหรับนักเรียนโทเปียโน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรวรรณ บรรจงศิลป. (2551). การสอนดนตรีในระดับประถมศึกษาทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

Park Hyun Soo. (2000). 30 Études de mécanisme, Op.849 By Carl Czerny. Seoul: Sekwang Masterpiece.

______. (2015). The Man Behind. Light Masterpiece Distribution.

Vanoni, Miriam Conti. (2017). Technique and Expression in Carl Czerny's Teaching: A Critical Study of Czerny's Piano-Forte School, Opus 500, Demonstrating The Direct Relation Between Mechanical Teaching and Expression in Performance. Doctoral dissertation, Boston University.

##submission.downloads##

已出版

2022-04-29