This is an outdated version published on 2022-12-08. Read the most recent version.

ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • อุบลวรรณา เกษตรเอี่ยม -

คำสำคัญ:

การยอมรับเทคโนโลยี, ระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบอิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่ได้ทดลองใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา เพื่อหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานด้วยการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ

            ผลการทดสอบอิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ  ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า มี 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ คือ ปัจจัยด้านคุณภาพการบริการทางอิเล็กทรอนิกส์  ปัจจัยด้านการรับรู้ความเสี่ยง และปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์ได้ คิดเป็นร้อยละ 72.40

References

กัลยา ใจรักษ์, รัฐ ใจรักษ์ และอุบลวรรณา เกษตรเอี่ยม. (2562). การพัฒนาแอพลิเคชั่นศูนย์กลางการรับซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และไอที ในพื้นที่จังหวัดพะเยา. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

กัลยา วนิชย์บัญชา. (2546). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กาญจนา ศิริแตง. (2562). คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อความภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการขนส่งพัสดุผ่านแอพพลิเคชั่น. การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ภาณุพงศ์ ลือฤทธิ์. (2560). คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ในการสร้างความพึงพอใจของผู้ใช้งาน:กรณีตัวอย่างของแอปพลิเคชันกระเป๋าเงินบนโทรศัพท์มือถือ. การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รัฐ ใจรักษ์, กัลยา ใจรักษ์ และอุบลวรรณา เกษตรเอี่ยม. (2563, พฤษภาคม). การจัดการความรู้ของระบบศูนย์กลางซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์โดยใช้เทคนิคออนโทโลยี. บทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 16 (NCCIT2020). คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. หน้า 17.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2565 ไตรมาสที่ 1. สืบค้น มิถุนายน 1, 2565, จาก http://www.nso.go.th/

Ataya, M. A. M., & Ali, M. A. (2019). Acceptance of Website Security on E-banking. A-Review. In 2019 IEEE 10th Control and System Graduate Research Colloquium

(ICSGRC) (pp. 201-206). IEEE.

Bauer, R. A. (2001). Consumer behavior as risk. Marketing: Critical perspectives on business and management, 3, 13.

Chang, H. H., Wang, Y. H., & Yang, W. Y. (2009). The impact of e-service quality, customer satisfaction and loyalty on e-marketing: Moderating effect of perceived value. Total quality management, 20(4), 423-443.

Dastane, O., Bin Md Jalal, M. I., & Selvaraj, K. (2018). Assessment of extended ES-Qual Model in an M-commerce setting. International Journal of Management, Accounting and Economics, 5(12), 923-954.

Davis, F. D. (1989). Perceived usefulness, perceived ease of use, and user acceptance of information technology. MIS quarterly, 319-340.

Davis, F. D., Bagozzi, R. P., & Warshaw, P. R. (1989). User acceptance of computer technology: A comparison of two theoretical models. Management science, 35(8), 982-1003.

Demirdogen, O., Yaprakli, S., Yilmaz, M. K., & Husain, J. (2010). Customer risk perceptıons of internet bankıng–A study In Turkey. Journal of Applied Business Research (JABR) , 26(6).

Indrawan, M. R. (2021). Factors Affecting Millenials’ Acceptance of E-Money Application in Jakarta. Turkish Journal of Computer and Mathematics Education (TURCOMAT),

(3), 4146-4156.

McKechnie, S., Winklhofer, H., & Ennew, C. (2006). Applying the technology acceptance model to the online retailing of financial services. International Journal of Retail & Distribution Management.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory. 2nd ed. New York : McGraw-Hill.

Okumus, B., Bilgihan, A., & Ozturk, A. B. (2016). Factors affecting the acceptance of smartphone diet applications. Journal of Hospitality Marketing & Management, 25(6), 726-747.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Malhotra, A. (2005). ES-QUAL: A multiple-item scale for assessing electronic service quality. Journal of service research, 7(3), 213-233.

Suhud, U., Wibowo, S. F., Khairi, A., & Willson, G. (2019). Applying the theory of acceptance modelto consumer acceptance of taxi-hailing mobile app. Journal of Internet and e-Business Studies, 1(10).

Vos, A., Marinagi, C., Trivellas, P., Eberhagen, N., Skourlas, C., & Giannakopoulos, G. (2014). Risk reduction strategies in online shopping: E-trust perspective. Procedia-Social andBehavioral Sciences, 147, 418-423.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-08

Versions