คุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหาร จังหวัดลำปาง

ผู้แต่ง

  • กนกพร ศรีวิชัย สาขาวิชาการท่องเที่ยวและธุรกิจบริการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

คำสำคัญ:

คุณภาพการให้บริการ, การตัดสินใจใช้บริการ, ร้านอาหารลำปาง

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของคุณภาพการให้บริการ และการตัดสินใจ   ใช้บริการ และ (2) เพื่อทดสอบผลกระทบของคุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหาร จังหวัดลำปาง โดยทำการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ใช้บริการร้านอาหารในจังหวัดลำปาง จำนวน 385 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย การหาค่าร้อยละ การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลแบบถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความคิดเห็นของคุณภาพการให้บริการ ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 3.84 และระดับความคิดเห็นของการตัดสินใจใช้บริการ ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.33 และ 2) ผลการทดสอบผลกระทบ พบว่า ปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ประกอบด้วย ความไว้ใจ ความมั่นใจ สิ่งที่สามารถจับต้องได้ ความใส่ใจ และการตอบสนองของลูกค้าร่วมกัน มีผลกระทบเชิงบวกกับการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหาร จังหวัดลำปาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ

References

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัดลำปาง. (2563). แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 5 ปี (พ.ศ.2561 – 2565) ฉบับทบทวน ปี 2563. ลำปาง: สำนักงานจังหวัดลำปาง.

เกอ ซ่งและนิตนา ฐานิตธนกร. (2560). คุณภาพอาหาร คุณภาพการบริการ สภาพแวดล้อมทางกายภาพและความใส่ใจในสุขภาพที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารไทยของนักท่องเที่ยวชาวจีนในกรุงเทพมหานคร. สืบค้น พฤษภาคม, 2565, จาก https://agkb.lib.ku.ac.th/ku/search_detail/dowload_digital_file/383040/104323

จรัญชัย กรเกตุมหาชัย. (2555). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อคุณภาพการให้บริการฝึกอบรมของบริษัทแบงค์คอก ควอลิตี้ เซอร์วิส จำกัด. เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นพรัตน์ บุญเพียรผล. (2560). แนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการของธุรกิจร้านอาหารสำหรับนักท่องเที่ยวนานาชาติในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(1), 61-76.

ยุวดี มีพรปัญญาทวีโชค. (2553). การเปรียบเทียบระดับคุณภาพการบริการของร้านกาแฟพรีเมียมแฟรนไชส์ของต่างประเทศกับแฟรนไชส์ของไทยในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจสำหรับผู้บริหาร วิทยาลัยพาณิชย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

Cochran, W. G. (1977) Sampling Techniques (3rd Edition). John Wiley & Sons, New York.

Gujarati, D. N., & Porter, D. C. (2009). Basic Econometrics (5th ed.). McGraw Hill Inc., New York.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). New York: Pearson.

Heung, V. C., & Gu, T. (2012). Influence of Restaurant Atmospherics on Patron Satisfaction and Behavioral Intentions. International Journal of Hospitality Management, 31, 1167-1177.

Kitapci, O., Akdogan, C., & Dortyol, I. T. (2014). The impact of service quality dimensions on patient satisfaction, repurchase intentions and word-of-mouth communication in the public healthcare industry. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 148, 161-169.

Mitchell, R., & Hall, M. (2005). “Gastronomic tourism: comparing food and wine tourism experiences”, in Novelli, M. (Eds), Niche Tourism. Contemporary Issues, Trend and Cases, Elsevier, Barking.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of marketing, 49, 41-50.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A multiple-item scale for measuring consumer perceptions of service quality. Journal of marketing, 64, 12-40.

Wade, V. M. (2006). Likert-type scale response anchors. Clemson International Institute for Tourism & Research Development, Department of Parks, Recreation and Tourism Management. Clemson University.

Zeithaml, V. A., Bitner, M. J., & Gremler, D. D. (2006). Services Marketing: Integrating Customer Focus across the Firm. Boston, MA: McGraw-Hill/Irwin.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-01-01