ธรรมาธิปไตยในฐานะเป็นเครื่องมือพัฒนาประชาธิปไตย

Main Article Content

ประสิทธิ์ พันธวงษ์
บุญรัตน์ ครุฑคง

บทคัดย่อ

บทความวิชาการฉบับนี้ มุ่งศึกษาเครื่องมือการพัฒนาของศาสตร์ และศิลป์          ที่ตกผลึกของธรรมาธิปไตย ในฐานะเป็นเครื่องมือพัฒนาประชาธิปไตย ในการสร้าง        ความเป็นประชาธิปไตย เพื่อประชาชนโดยสมบูรณ์ ไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตย  ถือว่าอำนาจอันชอบธรรมในการปกครองประเทศ ต้องมาจากประชาชน เพื่อประโยชน์สุข โดยเฉพาะของประชาชนโดยส่วนรวม ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของผู้มีอำนาจ หรือประชาชน    กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป้าหมาย เพื่อใช้การปกครองด้วยอำนาจของความดี และความถูกต้อง           ที่เป็นใหญ่ การที่จะก้าวไปสู่การปกครองด้วยระบอบดังกล่าวได้ ต้องใช้ธรรมาธิปไตยเป็นเครื่องมือในการสร้างรัฐหรือสร้างชาติอันนำไปสู่การสร้าง “องค์กรแห่งความสุขแบบประชาธิปไตยที่สมบูรณ์” ในการพัฒนาประเทศอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในอนาคตต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คู่มือสื่อมวลชน. (2560, ตุลาคม).งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร. วันที่ 25 -29 ตุลาคม พ.ศ. 2560
จิรโชค (บรรพต) วีระสัย. และคณะ. (2540). รัฐศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพฯ: รามคำแหง.
ทองคำ วิรัตน์, วงจรอุบาทว์, [Online], เข้าถึงได้จาก https://th.wikipedia.org/ tho ngk um.blo gspot.co m/2016/01/blog-post_77.htm สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2560.
บุญทัน ดอกไธสง. (2560, ตุลาคม). การประชุมสัมมนาวิชาการ. พุทธรัฐศาสตร์ : การบูรณาการพุทธธรรมเพื่อความสมบูรณ์แห่งรัฐ. โครงการห้องปฏิบัติการทางสังคม. คณะสังคมศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ประภัสสร ทองยินดี. (2558, กันยายน - ธันวาคม ). ประชาธิปไตย : แนวคิดและหลักการเบื้องต้น. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 3(5).
ประเวศ วะสี. (2560, ตุลาคม). การประชุมสัมมนาวิชาการ. พุทธรัฐศาสตร์ : การบูรณาการพุทธธรรมเพื่อความสมบูรณ์แห่งรัฐ.โครงการห้องปฏิบัติการทางสังคม. คณะสังคมศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2537). รัฐกับพระพุทธศาสนา ถึงเวลาชำระล้างหรือยัง. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.
. (2541). ธรรมกับสังคมไทยในสถานการณ์ปัจจุบัน.กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
.(2543).กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคนไปสู่ประชาธิปไตย.กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
. (2544). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
. (2546). สลายความขัดแย้ง : นิติศาสตร์-รัฐศาสตร์-เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ.กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.
พระมหาบุญเลิศ อินทปัญโญ. (2560). พุทธรัฐศาสตร์ : การบูรณาการพุทธธรรมเพื่อความสมบูรณ์แห่งรัฐ. โครงการห้องปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab). คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย: นิติธรรมการพิมพ์.
พระราชปริยัติกวี, (2560), การประชุมสัมมนาวิชาการ, พุทธรัฐศาสตร์ : การบูรณาการพุทธธรรมเพื่อความสมบูรณ์แห่งรัฐ,/โครงการห้องปฏิบัติการทางสังคม,/คณะสังคมศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,/วันที่ 20 ตุลาคม 2560.
พุทธทาสภิกขุ.(2495) “ คนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง” (จากอนุทินประจำวัน ปี 2495 ที่ท่านพุทธทาสภิกขุ บันทึกไว้เมื่อวันจันทร์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2495) ใน พุทธทาสลิขิตข้อธรรม บันทึกนึกได้เอง : ว่าด้วยชีวิต สังคม การเมือง สันติภาพ และหลักคิดสำคัญๆ, สุราษฎร์ธานี : ธรรมทาน.
พุทธสมาคม, (2555, ตุลาคม), เปิดโลกส่องธรรม, พุทธสมาคมสาร, 20(17)

โภคิน พลกุล. (2544, พฤษภาคม - สิงหาคม). ท่านปรีดีกัลป์ศาลปกครอง. วารสารวิชาการ ศาลปกครอง. 2(1).
ระบอบประชาธิปไตย/ข้อดีและข้อเสีย [Online] เข้าถึงได้จาก https:/pimpornzzz.wo rdpress.com/ สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2560
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2547). การเมืองการปกครองไทย: พ.ศ. 1762 – 2500. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
สมภาร พรมทา. (2560, ตุลาคม). การประชุมสัมมนาวิชาการ. พุทธรัฐศาสตร์ : การบูรณาการพุทธธรรมเพื่อความสมบูรณ์แห่งรัฐ.โครงการห้องปฏิบัติการทางสังคมคณะสังคมศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนันต์ ใจสมุทร. (2541). การพัฒนาชุมชนกับทฤษฎีทางสังคมศาสตร์. ภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
News/ไทย. 85 ปี รัฐธรรมนูญไทย เมื่อไหร่จะหยุดรัฐประหารได้. (6 เมษายน 2017), [Online]. เข้าถึงได้จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-38263329 สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2561
Philosopher. แนวความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองและอำนาจอธิปไตย. [Online] เข้าถึงได้จาก https://www.http://black-dslash.blogspot.com/2008/12/ blog-post_ 11. htm l สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2561