สัมพันธภาพของหลักทางนิติศาสตร์ สิทธิมนุษยชนและความสมดุลใหม่กับการวิจัยในมนุษย์

ผู้แต่ง

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ ศรีศิริ อาจารย์ประจำ หัวหน้าหมวดกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

นิติศาสตร์, สิทธิมนุษยชน, การวิจัยในมนุษย์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ การสร้างความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับนิติศาสตร์และสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างนิติศาสตร์ สิทธิมนุษยชนกับการวิจัยในมนุษย์ เสนอข้อคิดกับแนวทางการวิจัยสมัยใหม่ที่ต้องคำนึง โดยเป็นการศึกษาค้นคว้าแนวคิด หลักการจากเอกสารทางวิชาการ

การศึกษา พบว่า แนวคิด หลักการทางนิติศาสตร์และสิทธิมนุษยชนมีความสัมพันธ์เชิงสนับสนุนซึ่งกันและกันให้เกิดผลเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างความสมดุลระหว่างการหาคำตอบ การสร้างนวัตกรรมโดยอาศัยกระบวนการวิจัยกับการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพและความมั่นคงของมนุษย์ อย่างไรก็ตาม การวิจัยในมนุษย์ มีข้อต้องพึงคำนึง ได้แก่ แนวคิดทางนิติศาสตร์และหลักสิทธิมนุษยชน แม้ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายเกี่ยวกับการวิจัยในมนุษย์

ผู้เขียนเห็นว่า นักวิจัยควรเข้าใจแนวคิด หลักการ และความสำคัญของสิทธิมนุษยชนและนิติศาสตร์ในประเด็นเกี่ยวกับการวิจัยในมนุษย์ ควรกำหนดแนวปฏิบัติและเกณฑ์การกรอบวิจัยใดเป็นการวิจัยในมนุษย์ให้มีความชัดเจน เพื่อไม่สร้างภาระแก่นักวิจัยจนเกินไป เนื่องจากงานวิจัยถูกกำหนดกรอบระยะเวลาในการศึกษาวิจัยให้แล้วเสร็จ

References

Atthapong Kawan and Apinan Srisiri. (2022, January-December). Professional Responsibility under the Protection of Personal Information. Academic Journal of Law Thaksin University, 10(12).

Chomchuen Manyarom. (24 June 2022). Meaning and Characteristics of Law. https://law.dpu.ac.th › content › files › 3.doc

Civil and Commercial Code, B.E. 2468 (1925). Government Gazette, Volume 42/-/Page 1/11 November 1925.

Criminal Code, B.E. 2499 (1956). (Act Promulgating the Criminal Code B.E. 2499 (1956). Government Gazette, Vol. 73/Chapter 95/Special Issue, Page 1/15, November 1956.

Decha Thammathadawiwat (2008, January-March). Consent to Secure Legal Implications for Dentist’s Tort and Criminal Liability. Journal of Wor.Dentist, 58 (1), 40.

Faculty of Law. University of Trento. (June 25, 2022).“Natural Law, Legal Positivism, The Morality of Law Dworkin's "Third Theory of Law" Legal Realism and Critical Legal Studies.” http://www. jus.unitn.it /users/patterson/course/topics/materiale/analyticjurissupplemen tal.pdf

International Covenant on Civil and Political Rights 1976, https://deepsouth watch.org/sites/default/files/ archives/doc/iccpr_en.pdf.

Kittibodi Yaipool. (22 February 2022). General Principles of Law: Principles of Consent. https://law.kku.ac.th/wp/wp-content/uploads /2017/08/ Tort-14-.pdf

Legal Studies, https://thesis.in.th/assets/pdf_blog/2018/07/thesis_ 1532440 716.pdf

National Research Council of Thailand (NRCT). (2021). “Ethical Guidelines for Human Related Research, Art and Part Update Company Limited.”

Pichaisak Hoyangkun. (22 February 2022). Chapter 3: Principle of Consent. Sukhothai Thammathirat Open University. https://www.stou.ac.th /Schools/Slw/upload/Ex%2040 701-3.pdf

Stanford Encyclopedia of Philosophy. (June 23, 2022). “Legal Positivism,” https:// plato.stanford.edu/entries/legal-positivism/

The Belmont Report. (1979).“Ethical principles and Guidelines for the Protection of Human Subjects of Research.

Universal Declaration of Human Rights 1948, https://humanrights.mfa.go.th/ upload/pdf/udhr-th-en.pdf

Wasasipha Prueksadachan (2017). Modern Civil Law Office: Legal Thoughts on the Perspectives of Hans Kelsen and H.L.A. Hart and Criticism. Master of Laws, Public Law Faculty of Law. Bangkok: Thammasat University.

What is human rights?, https://www.amnesty.or.th/latest/blog/62/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

06/11/2023