ปัจจัยที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำของลูกค้าร้านทำผมสุภาพบุรุษในเขตกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ขวัญจิตร ใจเย็น
จักรพันธ์ กิตตินรรัตน์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล และคุณภาพบริการที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำของลูกค้าร้านทำผมสุภาพบุรุษในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นลูกค้าร้านทำผมสุภาพบุรุษในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยการทดสอบที่การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยการทดสอบค่าทีและค่าเอฟ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ โดยผลการศึกษาพบว่าความคิดเห็นด้านคุณภาพบริการ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการเอาใจใส่ ต่อผู้ใช้บริการ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และด้านความเป็นรูปลักษณ์ทางกายภาพที่สัมผัสได้ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน จะมีการกลับมาใช้บริการซ้ำที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนถึงอิทธิพลของคุณภาพบริการที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำของลูกค้าร้านทำผมสุภาพบุรุษในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการตอบสนองความต้องการส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

How to Cite
ใจเย็น ข., & กิตตินรรัตน์ จ. (2024). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำของลูกค้าร้านทำผมสุภาพบุรุษในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 17(2), 1–27. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/mbakkujournal/article/view/267366
บท
บทความวิจัย

References

กิตติภัทท์ ปรีดาธรรม และอติชาติ โรจนกร. (2566). โมเดลการการพัฒนาความจงรักภักดีของผู้รับบริการในธุรกิจสปาและนวดเพื่อสุขภาพ ภายหลังการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 10(7), 177-188.

คมสันต์ สุดสาคร และชิณโสณ์ วิสิฐนิธิกิจา. (2566). พฤติกรรมการเลือกใช้บริการร้านตัดผมชายในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารการบริหารและสังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2), 181-192.

ทศพร นพวิชัย. (2559). การเมืองและเศรษฐกิจของการสงวนอาชีพในประเทศไทยและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: กรณีศึกษาธุรกิจบริการด้านงานเสริมสวย. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการเมือง มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ไทยรัฐ. (2560). ช่างผมอาชีพพารวยลุ้นเวทีฝีมือแรงงาน. ค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.thairath.co.th/business/economics/1083279.

เพ็ญศรี วรรณสุข. (2556). คุณภาพบริการและกลยุทธ์การตลาดบริการสุขภาพที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการของลูกค้าธุรกิจสปาในประเทศไทย. คุณภาพบริการและกลยุทธ์การตลาดบริการสุขภาพที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการของลูกค้าธุรกิจสปาในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 4(1), 22–33.

ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และอัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2547). ระเบียบวิธีการวิจัย (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์.

วิภาวรรณ สุคันโธ, พีระ พันธุ์งาม, ณิชชา โกเศยะโยธิน และจารุรัศมิ์ ธนูสิงห์. (2562). พฤติกรรมของผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านเสริมสวยในอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. วารสารวิชาการสิรินธรปริทรรศน์, 20(1), 93-100.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และศุภร เสรีรัตน์. (2560). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

สุชาติ ไตรภพสกุล. (2558). อิทธิพลของปัจจัยแรงจูงใจต่อการเป็นผู้ประกอบการที่มีต่อการเติบโตและความมุ่งหวังที่จะเติบโตของธุรกิจ: กรณีศึกษาประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน, 29(90), 75-93.

สุณิสา กาวิชัย และปริยา รินรัตนากร. (2566). พฤติกรรมแรงจูงใจและความคาดหวังต่อการใช้บริการร้านซาลอนของผู้ใช้บริการ. วารสารสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 9(1), 541-555

สุนิสา ทองทะวัย และสุทธีพร มูลศาสตร์. (2557). ความสัมพันธ์ของปัจจัยคัดสรรกับคุณภาพบริการตามการรับรู้ของผู้รับบริการในคลินิกเสริมความงาม กรณีศึกษาในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารพยาบาล, 63(3), 37-45

เสาวนีย์ ไทยรุ่งโรจน์. (2555). ม.หอการค้าไทยเผย 10 ธุรกิจดาวเด่น-ดาวร่วงปี 55 ชี้การแพทย์-ความงามมาแรง. ค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.ryt9.com/s/iq03/1309889

Anderson, D. R., Sweeney, D. J., Williams, T. A., Camm, J. D., & Cochran, J. J. (2016). Statistics for business & economics. USA: Cengage Learning.

Başarangil, İ. (2018). The relationships between the factors affecting perceived service quality, satisfaction and behavioral intentions among theme park visitors. Tourism and Hospitality Research, 18(4), 415-428.

Best, W., J. & Kahn, J.V. (1995). Research in Education. New Delhi: Prentice – hall of India Private Limited.

Chikazhe, L., Makanyeza, C., & Chigunhah, B. (2021). Understanding mediators and moderators of the effect of customer satisfaction on loyalty. Cogent Business & Management, 8(1), 1-19.

George, D., & Mallery, P. (2003). SPSS for Windows step by step: A simple guide and reference.11.0 update. (4th ed.). Boston: Allyn & Bacon.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J. and Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis. (7th Edition.). New York: Pearson.

Kim, Y., & Han, H. (2010). Intention to pay conventional-hotel prices at a green hotel – a modification of the theory of planned behavior. Journal of Sustainable Tourism, 18(8), 997-1014.

Kotler, P., & Keller, K. L. (2009). Marketing Management. (13th ed.). Pearson Prentice Hall.

Kotler, P., & Keller, K. L. (2012). Marketing management. (14th ed.). Upper Saddle River. NJ: Prentice Hall.

Lemon, K. N., & Verhoef, P. C. (2016). Understanding Customer Experience Throughout the Customer Journey. Journal of Marketing, 8(6), 69-96.

Ozdemir, V. E., & Hewett, K. (2010). The Effect of Collectivism on the Importance of Relationship Quality and Service Quality for Behavioral Intentions: A Cross-National and Cross-Contextual Analysis. Journal of International Marketing, 18(1), 41-62.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1994). Reassessment of Expectations as a Comparison Standard in Measuring Service Quality: Implications for Further Research. Journal of Marketing, 58(1), 111-124.

Pfeifer, P. (2005). The optimal ratio of acquisition and retention costs. Journal of Targeting, Measurement and Analysis for Marketing, 13(2), 179-188.

Schiffman, L. G., & Wisenblit, J. (2015). Consumer behavior. (11th ed.). Boston: Pearson.

Solomon, M., Bamossy, G., Askegaard, S., & Hogg, M. K. (2006). Consumer behaviour: a European perspective. (3rd ed.). Harlow, England: Financial Times /Prentice Hall.

Zeithaml, V. A., Berry, L. L., & Parasuraman, A. (1996). The Behavioral Consequences of Service Quality. Journal of Marketing, 60(2), 31-46.