กลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อเพิ่มกลุ่มลูกค้าโรงแรมภูน้ำฟ้า ในอำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น

Main Article Content

นฤชล เลิศอุดมโชค
บุษกรณ์ ลีเจ้ยวะระ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมและระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองลูกค้า การใช้บริการซ้ำ และการบอกต่อของโรงแรมภูน้ำฟ้า อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น 2) เพื่อกำหนดกลยุทธ์ในการเพิ่มกลุ่มลูกค้าโรงแรมภูน้ำฟ้า อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น โดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่อให้ทราบข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลพฤติกรรมการใช้บริการห้องพัก และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการตัดสินใจใช้บริการห้องพักโรงแรมภูน้ำฟ้า อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น  โดยที่กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญระดับมาก จำนวน 18 ปัจจัย ระดับมากที่สุด จำนวน 19 ปัจจัย จากผลการศึกษาและพฤติกรรมผลการใช้บริการซ้ำพบว่า เห็นด้วยกับการบอกต่อมากที่สุด จากนั้นนำเอาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการตัดสินใจใช้บริการห้องพักโรงแรมภูน้ำฟ้า แล้วนำมาสู่การวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์เพื่อเพิ่มกลุ่มลูกค้าโรงแรมภูน้ำฟ้า อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ โปรลับ อัพเกรดห้อง 2) โครงการบริการจองห้องพักล่วงหน้าผ่านระบบ และ 3) โครงการ ห้องปันโปร

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยา วินิชย์บัญชา. (2561). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ: สามลดา.

จุฑารัตน์ เกียรติรัศมี. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัjนออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระปริญญาธุรกิจ มหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธิดาพร ลครพล และปานปั้น รองหานาม. (2565). รูปแบบกลไกของอุทยานแห่งชาติภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(9), 141-155.

ปิยะพร เอกสินธุ์เสริม. (2561). กลยุทธ์ทางการตลาดที่มีผลในการเลือกใช้โรงแรม. ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหิดล.

พันธกิจ ท้าวทอง. (2562). ได้ศึกษาเรื่องการศึกษาส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการโรงแรมราคาประหยัดในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการบริหาร) คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

พุทธชาด ลันคำ. (2564). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2564-2566: ธุรกิจโรงแรม. ค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2566, จาก

https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/Services/Hotels/IO/io-hotel-21.

วรนุช ทองนาม และวิเชียร วรพุทธพร. (2564). แนวทางการเพิ่มยอดขายน้ำปลาร้าต้มสุกปรุงรสผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์น้ำปลาร้าต้มสุกปรุงรส ตราหอมนัว. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 14(1), 169-152.

สุจิตรา แสงจันดา. (2556). สื่อสังคมออนไลน์และกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคออนไลน์ในประเทศ. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อัชฌา โนนเพีย. (2563).ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคหลังวิกฤตการณ์ โควิด-19 ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ เลือกใช้บริการธุรกิจโรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร.คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

Batinic, I. (2015). The role and importance of internet marketing in modern hotel industry. Journal of process. Management and New Technologies, 3(3), 34-38.

Cochran, W. G. (1977). Sampling techniques. India: ASIA PUBLISHING HOUSE.

Ferrell, O. C., Hartline, M., & Hochstein, B. W. (2021). Marketing strategy. USA.: Cengage Learning,

Pride, W. M., & Ferrell, O. C. (2019). Marketing. USA.: Cengage Learning.

Romeo, R., Russo, L., Parisi, F., Notarianni, M., Manuelli, S., Carvao, S., et al (2021) Mountain tourism–Towards a more sustainable path. Italy: Policy Commons.

Sarsby, A. (2016). SWOT analysis: a guide to SWOT for students of business studies. England: Leadership Library

Stokes, D., & Lomax, W. (2002). Taking control of word of mouth marketing: the case of an entrepreneurial hotelier. Journal of small business and enterprise development, 9(4), 349-357

Weinstein, A. T. (1994). Market segmentation: Using demographics, psychographics and other niche marketing techniques to predict customer behavior. USA.: Probus Publishing.