ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในเขตตำบลนางแล อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดียสำหรับส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในเขตตำบลนางแล และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อ
สื่อมัลติมีเดียสำหรับส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในเขตตำบลนางแล ประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ บุคคลทั่วไปหรือนักท่องเที่ยวที่ดาวน์โหลดสื่อมัลติมีเดียไปใช้ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเลือกตัวอย่างตามสะดวกจำนวน 100 คน
เครื่องมือวิจัยคือ 1) สื่อมัลติมีเดียสำหรับส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในเขตตำบลนาง และ 2) แบบสอบถามวิเคราะห์โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้
- ผลการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อเผยแพร่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในเขตตำบลนางแล
อำเภอเมืองจังหวัดเชียงราย และหาประสิทธิภาพสื่อมัลติมีเดียสำหรับส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในเขตตำบล
นางแล โดยแบ่งเป็น ผลการสร้างสื่อมัลติมีเดีย, ผลการตรวจสอบความเหมาะสมขององค์ประกอบต้นแบบของสื่อมัลติมีเดีย และผลการทดสอบการใช้งานต้นแบบสื่อมัลติมีเดีย พบว่า ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก
(=4.40, S.D=0.50) - ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อสื่อมัลติมีเดียสำหรับส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยรวมพบกว่าผู้ใช้มีความพึงพอใจในระดับมาก (=4.33, S.D=0.49)
Article Details
บท
บทความ
รายละเอียดของลิขสิทธ์
References
กฤษดา ขุ่ยอาภัย. (2552). การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : กรณีศึกษาบ้านลวงเหนือ ตำบลลวงเหนือ
อำเภอดอยสะเก็ต จังหวัดเชียงใหม่. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กาญจนา อาสนะคงอยู่ และเอกชัย โกมล. (2554). การพัฒนายุทธศาสตร์เชิงวัฒนธรรมในเขตเมือง กรณีศึกษา
จังหวัดพิษณุโลก. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558, จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
ไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว. (2556). การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558. จาก http://tourism-
dan1.blogspot.com/.
ชนัญ วงษ์วิภาค. (2545). ประโยชน์ของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์
วิชาชีพการจัดการการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ไชยยศ เรื่องสุวรรณ. (2546). เทคโนโลยีกับการบริการการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ฟิวเจอร์เพรส.
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. (2548). เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology). กรุงเทพมหานคร : เคทีพี
คอม แอนด์ คอนซัลท์.
ธานินทร์ หงษา. (2553). การพัฒนาสื่อมัลดิมีเดียเรื่องไดโนเสาร์ที่ภูคุ้มข้าว จังหวัดกาฬสินธุ์.
(วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นงลักษณ์ ชายหาด. (2549). การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพมหานคร : เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.
พยอม ธรรมบุตร. (2548). เอกสารประกอบการเรียนการสอนเรื่องหลักการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. กรุงเทพมหานคร:
สถาบันพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พลวัฒ ประพัฒน์ทอง. (2554). “เชียงรายภัณฑ์” การเชื่อมโยงเชิงสร้างสรรค์จากสินค้าสู่ทุนวัฒนธรรม.
สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558, จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
ไพฑูรย์ รัตน์เลิศลบ. (2552). โครงการวิจัยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายวัฒนธรรมและชุมชนในการบริหาร
จัดการวัฒนธรรม กรณีศึกษากลุ่มก๋องปู่จา บ้านวังหม้อ ต.ต้นธงชัย อ.เมือง จ.ลำปาง.
สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558, จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
รสิกา อังกูร. (2549). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น.
วารสารการวิจัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 19(1) : 79-88.
ราณี อิสิชัยกุล. (2546). การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพ การจัดการ
การท่องเที่ยว = Professional experience in tourism management. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศุภกร ประทุมถิ่น. (2554). การสร้างรูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมให้ยั่งยืนตามแนว
พระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง โดยชุมชนมีส่วนร่วม : ชุมชนไทใหญ่บ้านถํ้าลอด อ.ปางมะผ้า
จ.แม่ฮ่องสอน. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558, จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
สุชาดา งวงชัยถูมิ. (2551). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านปราสาท อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา.
(ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อำเภอดอยสะเก็ต จังหวัดเชียงใหม่. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กาญจนา อาสนะคงอยู่ และเอกชัย โกมล. (2554). การพัฒนายุทธศาสตร์เชิงวัฒนธรรมในเขตเมือง กรณีศึกษา
จังหวัดพิษณุโลก. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558, จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
ไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว. (2556). การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558. จาก http://tourism-
dan1.blogspot.com/.
ชนัญ วงษ์วิภาค. (2545). ประโยชน์ของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์
วิชาชีพการจัดการการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ไชยยศ เรื่องสุวรรณ. (2546). เทคโนโลยีกับการบริการการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ฟิวเจอร์เพรส.
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. (2548). เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology). กรุงเทพมหานคร : เคทีพี
คอม แอนด์ คอนซัลท์.
ธานินทร์ หงษา. (2553). การพัฒนาสื่อมัลดิมีเดียเรื่องไดโนเสาร์ที่ภูคุ้มข้าว จังหวัดกาฬสินธุ์.
(วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นงลักษณ์ ชายหาด. (2549). การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพมหานคร : เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.
พยอม ธรรมบุตร. (2548). เอกสารประกอบการเรียนการสอนเรื่องหลักการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. กรุงเทพมหานคร:
สถาบันพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พลวัฒ ประพัฒน์ทอง. (2554). “เชียงรายภัณฑ์” การเชื่อมโยงเชิงสร้างสรรค์จากสินค้าสู่ทุนวัฒนธรรม.
สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558, จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
ไพฑูรย์ รัตน์เลิศลบ. (2552). โครงการวิจัยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายวัฒนธรรมและชุมชนในการบริหาร
จัดการวัฒนธรรม กรณีศึกษากลุ่มก๋องปู่จา บ้านวังหม้อ ต.ต้นธงชัย อ.เมือง จ.ลำปาง.
สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558, จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
รสิกา อังกูร. (2549). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น.
วารสารการวิจัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 19(1) : 79-88.
ราณี อิสิชัยกุล. (2546). การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพ การจัดการ
การท่องเที่ยว = Professional experience in tourism management. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศุภกร ประทุมถิ่น. (2554). การสร้างรูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมให้ยั่งยืนตามแนว
พระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง โดยชุมชนมีส่วนร่วม : ชุมชนไทใหญ่บ้านถํ้าลอด อ.ปางมะผ้า
จ.แม่ฮ่องสอน. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558, จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
สุชาดา งวงชัยถูมิ. (2551). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านปราสาท อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา.
(ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยขอนแก่น.