อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและความพึงพอใจในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานวิชาการของพนักงาน มหาวิทยาลัยสายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย

Main Article Content

พงษ์สันติ์ ตันหยง

บทคัดย่อ

  บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานวิชาการของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบแนวคิดอิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและความพึงพอใจในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานวิชาการของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย
   ผลการทบทวนวรรณกรรมเพื่อพัฒนากรอบแนวคิดพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานวิชาการของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 2) การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานวิชาการของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) ความพึงพอใจในการทำงานส่งผลทางตรงต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานวิชาการของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547. (2547). เอกสารอัดสำเนา.

พิมพ์อร สดเอี่ยม. (2547). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการบริหารงานวิชาการสาขาวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาในสถาบันราชภัฎ. ดุษฎีนิพนธ์บัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ภคพร ภู่ไพบูลย์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบปฏิรูป การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและความพึงพอใจในงาน กรณีศึกษา: กลุ่มงานสนับสนุนและบริการของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มุทิตา คงกระพันธ์. (2554). การศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การผ่านความผูกพันต่อองค์กร และความพึงพอใจในงานที่มีต่อผลการปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน้าที่.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วาสนา ไทรงาม. (2546).ความสัมพันธ์ของแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครู ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันราชภัฏราชนครินทร์.

สุภาพร รอดถนอม. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาลกับประสิทธิผลองค์การตามการรับรู้ของอาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2557). ระบบฐานข้อมูลด้านประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา. สืบค้นเมื่อ15 มกราคม 2558 จาก http://www.cheqa.mua.go.th

อารี อินทรา. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงานกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท แซนมินา-ไซซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จำกัด.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

Azadehand, A & Ahranjani, P.M. (2014). The impact of job security, satisfaction and stress on performance assessment and optimization of generation companies. Journal of Loss Prevention in the Process Industries, 32(2014), 343-348.

Azman, I., Nur, B., Natasha, A., & Rabaah, T. (2009). Relationship between transformational leadership, empowerment and followers’ performance: an empirical study in Malaysia. 13(5), 5-22. Retrieved from http://www.revistanegotium.org.ve/

Dunham J, Klafehn KA. (1990). Transformation leadership and the nurse executive. JONA 1990; 20(4), 28-34.

Farooqui, S. & Nagendrab, A. (2014). The Impact of Person organization Fit on Job Satisfaction and Performance of the Employees. Procedia Economics and Finance, 11, 122 – 129.

Huang, Y. S., Huang, C. Y., Chang, H. W., Chang, Y. L., & Kao, H. P. (2013). Exploring the effects of teacher job satisfaction on teaching effectiveness: Using’ teaching quality assurance’ as the mediator. International Journal of Modern Education Forum (IJMEF), 2(1), 17-30.

King, M.I. (1989). Extraordinary leadership in education transformational and leadership as predictions of effectiveness, satisfaction, and organizational climate in K-12 and higher education. (Doctoral dissertation, University of New Orleans). Dissertation Abstracts International, 50(8), 2329.

Koh, William Lok Kiang. (1991). An empirical validation of the theory of transformational leadership in secondary school in singapore. (Doctoral dissertation, University of Oregon). Dissertation Abstracts International, 52(14), 602.

Motowidlo, S. J., W. C. Borman., and M. J. Schmit. (1997). A theory of individual differences in task and contextual performance. Human Performance. 10(2), 71–83.

Pan, F.C. (2014). Practical application of importance-performance analysis in determining critical job satisfaction factors of a tourist hotel. Tourism Management, 46 (2015), 84-91.

Phillips, M. J. (2012).The Entrepreneurial Esquire:Entrepreneurial Climate as a Mediator Between Transformational Leadership and Performance in Law Firms. Dissertation for the degree of Doctor of Philosophy, George Washington University.

Pianella, A. T..(2014). Transformational leadership impacting staff nurse job satisfaction as it relates to quality of care. Master’s thesis, Utica College.

Rhoades, L., & Eisenberger,R. (2002). Perceived organizational support : A review of the literature. Journal of Applied Psychology, 87(4), 698-714.

Springer, G. J.. (2010). Job Motivation, Satisfaction and Performance Among Bank Employees: A Correlational Study. Dissertation for the Degree of DOCTOR OF PHILOSOPHY, Northcentral University.

Walumba, F. O., Orwa, B., Wang, P., & Lawler, J. J. (2005). Transformational Leadership, Organizational Commitment, Job Satisfaction: A Comparative study of Kenya and U.S. Financial Firms. Human Resource Development Quarterly, 15, 235-256.

Wayne, S. J., Shore, L. M., & Liden, R.C. (1997). Perceived organizational support and leader-member exchange: A social exchange perspective. Academy of Management Journal. 40, 82-111.