ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะประจำสายงานของครูกับบทบาทของครูผู้สอนในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ กลุ่มที่ 6 สังกัดสำนักบริหารงานศึกษาพิเศษ The Relationship between the Teacher’s Functional Competencies and Teacher’s Role at Suksasongkhro School Group 6, Bureau of Special Education Administration

Main Article Content

สมชาติ ชาญไชย

บทคัดย่อ

           


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สมรรถนะประจำสายงานของครูในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ กลุ่ม 6 สังกัดสำนักบริหารการศึกษาพิเศษ 2) บทบาทของครูในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ กลุ่ม 6 สังกัดสำนักบริหารการศึกษาพิเศษ  และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะประจำสายงานของครูกับบทบาทของครูในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ กลุ่ม 6 สังกัดสำนักบริหารการศึกษาพิเศษ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ กลุ่ม 6 สังกัดสำนักบริหารการศึกษาพิเศษ จำนวน 240 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ตอน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) สมรรถนะประจำสายงาน 3) บทบาทของครู วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน


              ผลการวิจัยพบว่า  1) สมรรถนะประจำสายงานของครูในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ กลุ่ม 6 สังกัดสำนักบริหารการศึกษาพิเศษโดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง (  = 4.02, S.D. = 0.50) 2) บทบาทของครูโดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง (  = 4.09, S.D. = 0.63) 3) สมรรถนะประจำสายงานของครูกับบทบาทของครูมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกในระดับสูง (r = .854) ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .001


คำสำคัญ: สมรรถนะประจำสายงาน  บทบาทครูผู้สอน  โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Artdej, S. (2018). The comparative study in administration boarding school between the Suksasongkhro boarding school and boarding school under Office of Secondary Education Area 34. http://www.seconary_school_34.go.th. September 20, 2018 (in Thai)

Bastable, Susan B. (2014). Nurse as educator. USA: Jones and Bartlett Learning.

Boonchum, P. (2003). “Thai teacher in 21 century”. Academic Journal 6(7): 15-24. (in Thai)

Burawat, S., Srisombat, K. and Numnaphol, K. (2015). “Enhancing competency of administrators for proceeding the quality assurance of basic education in northeast region”. Chopayom Journal 26(2): 79-86. (in Thai)

Intasura, P. (2009) Administrators capability according to teachers and educational personnel’s opinions under the Office of Khon Kaen Educational Service Area 5. Master’s thesis in Education Administration: Loei Rajabhat University. (in Thai)

Jongpradubkiet, P. (2008). Research for Learning. From http:/petcharawadee3blogspot.com/. retrieved September 8, 2019 (in Thai)

Kawaean, J. (2014). Academic administration technique in educational institution. Yala: Rajabhat Yalai University Press. (in Thai)

Kobkrawe, J. (2011). A study of the effectiveness of human resource management through teacher competence, private school in Phetburi province. Master’s thesis in Education Administration: Rajabhat Phetburi University. (in Thai)

Ministry of Education. Office of Education Council. (2019). National Education Act B.E. 2545 and Amendments Second National Education Act B.E. 2545 and Amendments Third National Education Act B.E. 2553. From http://www.moe.go.th/moe/th/home. retrieved September 7, 2019 (in Thai)

Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission. Bureau of Academic Affairs and

Education Standards. (2008). Basic Education Curriculum B.E. 2551. from

www.academic.obec.go.th. Retrived September 20, 2019 (in Thai)

National Institute of Development of Teacher, Faculty Staff, and Educational Personnel. (2008). Project of development of teacher in teacher and educational personnel system development. Bangkok: Ministry of Education. (in Thai)

National Institute of Educational Testing Service (Public Organization). (2018). Report O-Net.

From http://www.niets.or.th/. retrieved September 20, 2018 (in Thai)

Office of Secondary Education Area 34. (2016). The comparative study in administration boarding school between the Suksasongkhro boarding school and boarding school under Office of Secondary Education Area 34. Bangkok: Office of Secondary Education Area 34. (in Thai)

Office of Special Education Administration. (2019). The report of amount of teacher data in Suksasongkhro School and Rajphrachasongkhro School. From http://special.obec.go.th. retrieved September 20, 2019 (in Thai)

Office of the Basic Educational Commission. Teacher and Basic Education Personnel Development Bureau. (2010). Handbook for teacher competency evaluation (renew edition).

Pohtchong, S. (2004). Roles of the basic commission chairman in the administration of primary school under the Education Service Area Suphanburi. Master’s thesis in Education Administration: Kanjanaburi Rajabhat University. (in Thai)

Sangnak, P. (2016). Desirable competencies for teachers in basic schools under the Office of Chanthaburi Primary Educational Service Area. Master’s thesis in Education Administration: Rambhai Barni Rajabhat University. (in Thai)

Somudom, K. (2011). The competency of teacher in Muang district, Nakornphanom

province. Master’s thesis in Education Administration: Nakornphanom University.

(in Thai)

Srisuk, K. (2014). A study of the competence development of teachers under Phitsanulok Primary Education Service Area office 2. Master’s thesis in Education Administration: Rajabhat Pibulsongkram University. (in Thai)

Tangchuang. P. (2011). A model of educational personnel competence development. Bangkok: Duangkamon Publishing. (in Thai)

Totum, B., Kenaphoom, S. and Yupas, Y. (2018) “Functional competency among support staff in university”. Dhonburi Rajabhat University Journal 12(2): 183-197. (in Thai)

(In Thai)

กฤษณา ศรีสุข. (2557). การศึกษาความต้องการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลกเขต 2 วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และไก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 และฉบับที่3 พ.ศ.2553.จากhttps://www.moe.go.th/moe/th/edlaw/index2.

php?SystemModuleKey=ed_1 สืบค้นเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2561

ขวัญฤทัย สมอุดม (2554). สมรรถนะประจำสายงานของครูโรงเรียนในอำเภอเมืองจังหวัดนครพนม วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม.

จรุณี เก้าเอี้ยน. (2557) . เทคนิคการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา .ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

จันทนา ครงแคล้ว. (2554). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะของครูสถานศึกษาเอกชนในจังหวัด เพชรบุรี วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริห,ารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

บุญมี โททำ และคณะ (2561). “สมรรถนะตามบทบาทหน้าที่ของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, 12(2), 183-197.

ปราณี บุญชุ่ม. (2546). ครูไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการ, 6(7), 15-24

ปิยนุช แสงนาค. (2559). สมรรถนะที่พึงประสงค์สำหรับครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จันทบุรี วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

พศิน แตงจวง.( 2554). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพ ดวงกมลพับลิชซิ่ง

พรพิศ อินทะสุระ. (2552). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่นเขต 2. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

เพชราวดี จงประดับเกียรติ. (2551). วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้,จาก http:/petcharawadee3blogspot.com/ สืบค้นเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2561

ไพบูลย ไชยเสนา. (2550). สมรรถนะการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร สังกัดสํานักพัฒนาสังคมกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาการศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุนทร บูระวัฒน์. (2558). การเสริมสร้างสมรรถนะการบริหารจัดการของผู้บริหาร ในการประกันคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารช่อพยอม 26 (2), 79-86

สุภาพร อาจเดช (2559) การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการโรงเรียนพักนอน ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ กับ โรงเรียนพักนอนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 สืบค้นจาก https://secondary34.go.th/web34/ index.php?name=page&file=page&op=Download_all , สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน, 2561

สถาบันพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา. (2551). โครงการพัฒนาสมรรถนะของครูตามระบบพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพ กระทรวงศึกษาธิการ

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2561) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 สืบค้นจาก www.academic.obec.go0th ,สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2561

สำนักทดสอบทางการศึกษา (2561) รายงานผลการทดสอบ O-net .จากhttps://www.niets.or.th/th/catalog/

view/3865, สืบค้นเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2561.

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. ข้อมูลจำนวนครูในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์และโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ (2561) .สืบค้นเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2561,จาก http://special.obec.go.th/page.php

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34.(2559). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รายงานวิจัยเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการโรงเรียน พักนอนของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์กับโรงเรียนพักนอนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 34 ม.ป.พ