ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารกับความผูกพันในองค์กรของครูโรงเรียนคริสเตียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตจังหวัดเชียงราย – เชียงใหม่ The Relationship between Ethical Leadership of School Administrators and Organizational Commitment in Christian’s Schools under the Foundation of the Church of Christ in Thailand in Chiangrai – Chiangmai
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียนคริสเตียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตจังหวัดเชียงราย – เชียงใหม่ 2) ความผูกพันในองค์กรของครูโรงเรียน คริสเตียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตจังหวัดเชียงราย – เชียงใหม่ ทั้งทางด้านทัศนคติและด้านพฤติกรรม และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารกับความผูกพันในองค์กรของครูโรงเรียนคริสเตียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตจังหวัดเชียงราย – เชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนคริสเตียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตจังหวัดเชียงราย – เชียงใหม่ จำนวน 327 คน โดยการสุ่มหลายขั้นตอน (Multistage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป ตอนที่ 2 แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารในองค์กร ตอนที่ 3 ความผูกพันในองค์กรของครูโรงเรียนคริสเตียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียนคริสเตียนสังกัดมูลนิธิสภาคริสตจักร ในประเทศไทย เขตจังหวัดเชียงราย – เชียงใหม่ โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.30 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66) 2) ความผูกพันในองค์กรของครูโรงเรียนคริสเตียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตจังหวัดเชียงราย – เชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.58 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.40) 3) ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารกับความผูกพันในองค์กรของครูโรงเรียนคริสเตียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตจังหวัดเชียงราย – เชียงใหม่ ในภาพรวมมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกในระดับปานกลาง (r = .614) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
คำสำคัญ: ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม ความผูกพันในองค์กรโรงเรียนคริสเตียน มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย
Article Details
รายละเอียดของลิขสิทธ์
References
Bunyakiet, T. (2016). Perception of organizational climate that influences organizational commitment and good membership behavior of employees towards the organization. Master’s independent study in Business Administration:
Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (in Thai)
Chairacha, Y. (2018). Management strategies and leadership for viability of schools under the Foundation of the Church of Christ in Thailand. Doctoral’s thesis in Educational Leadership and Human Resource Development: Chiang Mai Rajabhat University.
(in Thai)
Chaisompoo, S. (2014). “Moral leadership in school management”. Journal of Educational Administration Burapha University 8(2): 1-15. (in Thai)
Chaovaroenrat, S. (2004). Develop Christian leadership. Bangkok: Christian Institute for Church Studies and Development (CED). (in Thai)
Charoynoot, P. (2014). Guidelines for education provision for human development based on protestant Christianity. Master’s thesis in Development Education: Chulalongkorn University. (in Thai)
The Church of Christ in Thailand. (2008). Church structure in Thailand.
http://www.cct.or.th/pages/p1_10.html. October 30, 2018 (in Thai)
The Church of Christ in Thailand. (2015). Policy and Church Justice in Thailand, BC 2015 – 2018. Bangkok: The Church of Christ in Thailand. (in Thai)
Kimhachan, S. (2016). Mission statement report from May 2014 - April 2016 : Present to the general assembly of the church in Thailand the 34th ordinary period. Chaing Mai: The Chaing Mai Christian School. (in Thai)
Krejcie, R. V. and Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement.
Ministry of Education. (1999). National Education Act 1999. Bangkok: Siam Sport Syndicate.
(in Thai)
Mitkul, S. (2018). Summary of mission statement of the Church of Christ in Thailand between May 2016 - April 2018 : Proposed at the 35th general assembly of the church of Christ in Thailand. Bangkok: The Church of Chirst in Thailand. (in Thai)
Mowday, R. T., Steers, R.M., & Porter, L.W. (1979). “The measure of organization commitment”.
Journal of Vocational Behavior 14(2): 224-241.
Naksawat, S. (2016). Employee engagement survey : Survey of employee engagement in concepts theory and practice. Bangkok: Pim Dee Printing. (in Thai)
Northouse, Peter G. (2010). Leadership theory and practice. (3rd ed.). United States of America: Sage Publications.
Office of the Civil Service Commission. (2009). Guide for selection and selection of government employees. Bangkok: Office of the Civil Service Commission. (in Thai)
Palasarn, S. (2011). Alternative : Ethical leadership indicators development for school principals under the Office of the Basic Education Commission. Doctor of Philosophy Thesis Faculty of Management Studies Khonkaen University. (in Thai)
Phongsriwat, S. (2002). Leadership: Theory and practice. Chiang Rai: Faculty of Management Science Chiang Rai Rajabhat Institute. (in Thai)
Manyart, S, Somprat, K and Poosrion, S. (2011). “Relationship models structure of factors affecting ethical leadership of school administrators under the Department of Local Administration (A structural equation model of factors 9 affecting ethical leadership of school administrators under the Department of Local Administration)”. Journal of Educational Administration 7(1): 82-93. (in Thai)
Rueangcharoensuk, W. (2009). Christian ethics. Chiang Mai: Wilas Printing. (in Thai)
Saengaun, P. (2014). Ethical leadership affecting to organizational commitment of public servant in Bangkok. Master’s thesis in Business Administration: Bangkok University.
(in Thai)
Skinner, E. A., Wellborn, J. G., and Connell, J. P. (1990). “What it takes to do well in school and whether I’ve got it : A process model of perceived control and children’s engagement and achievement in school. Journal of Educational Psychology 82: 22 – 32.
Thai Bible Society. (2007). The bible old testament and new Testament. Bangkok: Thai Bible Society.
Thipchoti, S. and Wong, M. (2014). Organizational ethics and perceived organizational culture that affect organizational commitment of private company employees in Bangkok. Master’s thesis of Business Administration in Management program :Srinakharinwirot University. (in Thai)
Wichai, S. (2003). The social system for school that effects to the efficiency of the school in the church of Christ in Thailand. Master’s thesis in Education: Silpakorn University. (in Thai)
(In Thai)
กระทรวงศึกษาธิการ. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542.กรุงเทพฯ: บริษัทสยาม สปอรต์ ซินดิเคท จำกัด.
ฐาปณี บุณยเกียรติ. 2559. การรับรู้บรรยากาศองค์การที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานต่อองค์การ. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ปรเมศวร์ ชรอยนุช. 2557. แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนามนุษย์ตามแนวคริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระมหาประสงค์ แสงอุ่น. 2557. ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บังคับบัญชาที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรของข้าราชการในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ยุพิน ชัยราชา. 2561. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการและภาวะผู้นำเพื่อการดำรงอยู่ของสถานศึกษาสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาผู้นำทางการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
วรรณภา เรืองเจริญสุข. 2009. จริยธรรมคริสเตียน. เชียงใหม่: วิลาศการพิมพ์.
ศศิธร ทิพโชติ และ มนู ลีนะวงศ์. 2557. จริยธรรมในองค์กรและการรับรู้วัฒนธรรมองค์กรที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทเอกชนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศิลป์ชัย เชาว์เจริญรัตน์. 2004. พัฒนาภาวะผู้นำคริสเตียน. กรุงเทพฯ: สถาบันคริสเตียนศึกษาและพัฒนคริสตจักร(ซีอีดี).
สุดใจ วิชัย. 2003. ระบบสังคมในโรงเรียนที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สมาคมพระคริสตธรรมไทย. (2550). พระคริสตธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่. กรุงเทพฯ: lสมาคมพระคริสตธรรมไทย.
สภาคริสตจักรในประเทศไทย. 2008. โครงสร้างสภาคริสตจักรในประเทศไทย [Online].
http:/www.cct.or.th/pages/p1_10.html. สืบค้น ตุลาคม 2018
สภาคริสตจักรในประเทศไทย. 2558. นโยบายและยทุธศาสตร์สภาคริสตจักรในประเทศไทย คริสตศักราช
– 2018. กรุงเทพฯ: เอกสารอัดสำเนา.
สินธุ์ คิมหะจันทร์. 2016. รายงานพันธกิจการศึกษา ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ค.ศ.2014 – เดือนเมษายน ค.ศ.
: เสนอต่อที่ประชุมสมัชชาสภาคริสตจักรในประเทศไทย สมัยสามัญครั้งที่ 34. เชียงใหม่:โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน.
สุธาสินี แม้นญาติ; กนกอร สมปราชญ์; ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. 2554. โมเดลความสัมพันธ์ โครงสร้างปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (A Structural Equation Model of Factors 9 Affecting Ethical Leadership of School Administrators under the Department of Local Administration). วารสารบริหารการศึกษา. 7(1), January – June 2011, p. 82-93.
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. 2545. ภาวะผู้นำ: ทฤษฎีและปฏิบัติ. เชียงราย: คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฎเชียงราย
สุเทพ ปาลสาร. 2554. การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สุพจน์ นาคสวัสดิ์. 2559. Employee Engagement Survey: การสำรวจความผูกพันในการทำงานของพนักงาน แนวคิด ทฤษฎี และแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด.
สุรพงศ์ มิตรกูล. 2018. สรุปรายงานพันธกิจของสภาคริสตจักรในประเทศไทย ระหว่างเดือนพฤษภาคม ค.ศ.2016 – เดือนเมษายน ค.ศ.2018: เสนอต่อที่ประชุมสมัชชาสภาคริสตจักรในประเทศไทย สมัยสามัญ ครั้งที่ 35. กรุงเทพฯ: สภาคริสตจักรแห่งประเทศไทย.
สุรัตน์ ไชยชมภู. 2557. ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการบริหารสถานศึกษา. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (เมษายน-กันยายน): 1-15.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. 2552. คู่มือการดำเนินการสรรหาและเลือกสรรพนักงานราชการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.