การจัดการความรู้ของพนักงานการไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

Main Article Content

ไพรัตน์ ต้นสิน

บทคัดย่อ

   การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันการจัดการของพนักงานการไฟฟ้า และการจัดการความรู้ของพนักงานการไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นการวิจัยแบบผสม เก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ที่เป็นพนักงานและ ผู้บริหารของเขตการไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 18 เขต เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้แก่ ผู้บริหาร และพนักงานการไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 8 คน สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์พหุคูณถดถอย
   ผลการวิจัย ด้านสภาพปัจจุบันการจัดการของพนักงานการไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดบุคลากร (gif.latex?\bar{X} =3.87) รองลงมา คือ ด้านการจัดองค์กร ( gif.latex?\bar{X}=3.73) และ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือการอำนวยการ (gif.latex?\bar{X} =3.59) ส่วนด้านการจัดการความรู้ของพนักงานการไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือการประยุกต์ใช้ความรู้ถูกต้องเที่ยงตรง ( =3.75) รองลงมาคือการสร้างความรู้ ( gif.latex?\bar{X}=3.74) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือการจัดเก็บความรู้ (gif.latex?\bar{X} =3.49)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Building an ASEAN Association. (2015). A study of the creation of the ASEAN Association. Retrieved June 28, 2017, from http://www.asean.skru.ac.th/pdf/ed-building-ASEANcommunity.pdf.

Bunmipipit P. (2008). The Development of Knowledge Management Model of Educational Institutions. Dissertation in Education Administration. Bangkok: Silpakorn University.

Chaopruettipong M. (2005). The Role of Executives in the 21st Century. Retrieved June 28, 2017, from http://www.consultthai.com/article/article/12.htm/2549.

Chang R., Gray K., Jansz-Senn A., Sendziuk P., & Radloff A. (2003). Action Learning as an Approach to Staff Development in Tertiary Education. Retrieved July 5, 2017. from http://www.ala.asn.au/conf/2003/ chang.pdf.

Feliciano J. I. (2008). The Success Criteria for Implementing Knowledge Management Systems in an Organization. Retrieved July 8, 2017. from http://proquest.umi.com.pqweb.

Gulick Luther & Urwick. (1956). Paper on the Science of Administration. New York: Institute of Public Administration Columbia University.

Koonthanakulwong S. (1997). School Administration Technological Innovation Experience. Bangkok: Religion.
Marquard M. J. (2002). Building the Leaning Organization. Mastering the 5 Elements for Corporate Leaning Palo Alto: CA: Davies-Black.

Panich W. (2003). Local Knowledge and Knowledge Management. Bangkok: Saithurakit Publishers.

Paopirojthanakon P. (2003). Factors Affecting Organizational Commitment: A Case Study of Siemens Co., Ltd. Master Thesis, Management Program. Bangkok: Srinakharinwirot University.

Phucharoen W. (2006). The Inner Path of Learning Organization of the Knowledge Management: Insights in to Iearning Organizations. and Knowledge Management. Bangkok: Sam Lada.

Suwannaphirom S. (2003). Personnel Management. Chonburi: Burapha University.

Sveiby K-E. (2001). What is Knowledge Management. Retrieved July 8, 2017, from http://www. Sveiby.com.au/ knowledgemanagement.html.

Trapp H. (1999). Benefits of an Intranet-Based Knowledge Management System Measuring the Effects. Retrieved July 7, 2017, from http://www.avinci.delcompetence/publikatinoeu/diplomarbeit/holge/trapp. pdf.

Wongsarnsri P. (2009). Human Resource Management. (5th ed.). Bangkok: Faculty of Management Science Suan Dusit Rajabhat Institute.

Yamane T. (1973). Statics : An Introductory Analysis. (3rd ed.). Singapore: The hamper International Edition.
(In Thai)

การสร้างสมาคมอาเซี่ยน. (2558). การศึกษาการสร้างสมาคมอาเซี่ยน. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2560, จาก http://www.asean. skru.ac.th/pdf/ed-building-ASEANcommunity.pdf.

ปิยะนาถ บุญมีพิพิธ. (2551). การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ของสถานศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พงศ์กร เผ่าไพโรจธนกร. (2546). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษา พนักงานบริษัทซีเมนส์ จำกัด. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พยอม วงศ์สารศรี. (2552). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

มาริสา เชาว์พฤฒิพงศ์. (2548). บทบาทของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2560, จาก http://www. consultthai.com/article/article/12.html.

วรภัทร์ ภู่เจริญ. (2549). The Inner Path of Learning Organization of the Knowledge Management: เจาะลึกถึงองค์กรเรียนรู้ และการบริหารความรู้. กรุงเทพมหานคร: สามลดา.

วิจารณ์ พานิช. (2546). ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการความรู้. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สายธุรกิจ.

สุจริต คูณธนกุลวงศ์. (2540). การบริหารโรงเรียน นวัตกรรมเทคนิค ประสบการณ์. กรุงเทพมหานคร: ศาสนา.

สุดา สุวรรณาภิรมย์. (2546). การบริหารบุคคล. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.