ประสบการณ์ของผู้ใช้บริการ ร้านอาหารพื้นเมือง ในจังหวัดเชียงใหม่ Customer Experience of Local Restaurant in Chiang Mai Province

Main Article Content

อรุณรัตน์ หลักฐาน

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ของผู้ใช้บริการ ร้านอาหารพื้นเมือง ในจังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการ หาความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 25-30ปี มีรายได้อยู่ระหว่าง 20.001-30.000 บาท และมีอาชีพเป็นพนักงานเอกชน ประสบการณ์ในการเลือกใช้บริการร้านอาหารพื้นเมืองของผู้ใช้บริการ ในจังหวัดเชียงใหม่ 3 ด้าน พบว่า ประสบการณ์ในการใช้บริการร้านอาหารพื้นเมืองโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยประสบการณ์ด้านการบริการเป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือประสบการณ์ด้านความรู้ และประสบการณ์ด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ


คำสำคัญ  :  การบริการ  ประสบการณ์  ร้านอาหารพื้นเมือง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Ahmed, H. & Crispin, D. (2019). Hospitality business development. London: Routledge.

Anan, K. and Sukpatch K. (2019). Loyalty Creation Guidelines for Culinary Tourism inThailand through Experiential Value. Thai Journal of Science and Technology, 8(6), 585-595. (In Thai)

Bono, E. (2000). Six thinking hats. London: Penguin books.

Chanwong, O. et al. (2019). The Mediation Influence of Trust and Experience of Electronic Banking Services on the Relationship among Subjective Norm Behavioral Intention and Actual Use. Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand, 8(2). (In Thai)

Chantarawadee, W. (2011). Satisfaction of Japanese Customers Towards Service Quality of King Royal Garden Inn, Bangkok. Chaingmai. Chiangmai University. (In Thai)

Chiangmai Statistical Office, (2017). Chiangmai Tourism Statistics 2016-2017. Chiangmai. (C. M. P. O. Site. Document Number). (In Thai)

Curedale, R. (2013). Service Design: 250 essential methods. Los Angeles, USA: Desing community college.

Duangrawa, U. (2011). Factors Relating to Service Quality of One Stop Service Center: A Case Study of Rajamangala University of Technology Thanyaburi. Business Administration. University of Technology Thanyaburi. (In Thai)

Felix, E. (2011). Learning space service design. Journal of Learning Spaces, 1(1). Retrieved from https://libjournal.uncg.edu/index.php/jls/article/view/284.

Ifeanyichukwu, C. & Peter, A. (2018). The Role of Sensory Marketing in Achieving Customer Patronagein FastFood Restaurants in Awka. International Research. Journal Of Management, IT & Social Sciences, 5(2), 155-163.

Jengjankrit, C. (2003). IMC & marketing communication. Bangkok: Tipping Point. (In Thai)

Kandampully et al. (2018). Customer experience management in hospitality. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 30(1), 1-36.

Kasikorn Research Center. (2017). Restuarant Strategies 2017. Bangkok: kasikornbank. (In Thai)

Katzan, J. (2011). Essentials Of Service Design. Journal of Service Science (JSS), 4(2), 43.

Locke, J. (1982). An Essay Concerning Human Understanding.: Edited by P.H. Nidditch Oxford:The Clarendon Press.

Manawapat, O. (2560). Brand Experience, Brand Trust And Brand Loyalty Of Customers In Thai Airlines Business. Journal of communication and innovation NIDA, 4(1), 77-85. (In Thai)

Michael, C. (2003). Food Tourism Around the World. management and markets. . Oxford: Butterworth - Heinemann.

Puntien, S. (2015). Thai Culinary Tourism : An Approach to the Development and Troubleshooting for Tourism Management in Watershed Provinces of Thailand Central Region Based on Creative Economy. Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences, 5(2), 184-195. (In Thai)

Scarpato, R. (2002). Gastronomy as a tourist product: The perspective of gastronomy studies, in A.M. Hjalager and G. Richards (eds.), Tourism and gastronomy. . London: Routledge.

Stickdorn, J. (2011). This is Service Design Thinking: Basics, Tools, Cases. Innsbruck, Austria.

(In Thai)

กฤติเดช อนันต์ และเกศรา สุกเพชร. (2562). แนวทางการสร้างความจงรักภักดีต่อการท่องเที่ยวเชิงอาหารของประเทศไทยผ่านคุณค่าเชิงประสบการณ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,8(6), 585-595.

ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ. (2546). กลยุทธ์สื่อสารการตลาด. กรุงเทพฯ: ทิปปิ้ง พอยท์.

วิลาวัลย์ จันทราวดี. (2554). ความพึงพอใจชองลูกค้าชาวญี่ปุ่นที่มีต่อคุณภาพการบริการของโรงแรมคิงรอยัลการ์เด้นท์อินน์ ถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). ปรับกลยุทธ์ร้านอาหาร SME. ธุรกิจร้านอาหาร ปรับกลยุทธ์รับการแข่งขันปี 2560. กรุงเทพฯ.

สริตา พันธ์เทียน. (2558). รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงอาหารไทยโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในเขตจังหวัดลุ่มแม่น้ำภาคกลาง. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานสถิติจังหวัดเชียงใหม่. (2560). สถิติการท่องเที่ยวของจังหวัด พ.ศ. 2559-2560. เชียงใหม่. ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่

อุไร ดวงระหว้า. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพการให้บริการศูนย์บริการ One Stop Service: ก็รณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญญะบุรี. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญญะบุรี.

อรสุภา จันทร์วงษ์ และคณะ. (2562). อิทธิพลของความไว้วางใจและประสบการณ์ของการใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ที่ขยายความสัมพันธ์ระหว่างอิทธิพลคน รอบข้างการตั้งใจใช้บริการและการใช้งานจริง. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย,8(2), 47-68.

อรญา มาณวพัฒน์. (2560). ประสบการณ์ความไว้วางใจและความภักดีต่อตราสินค้าของผู้ใช้ บริการในธุรกิจสายการบินของไทย. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า,4(1), 77-85.