การศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในองค์การของพยาบาลวิชาชีพ

Main Article Content

กิตติยา ชัชวาลชาญชนกิจ

บทคัดย่อ

   การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยทางการบริหารจัดการที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในองค์การของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการทบทวนแนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับปฐมภูมิ ระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ เป็นการศึกษา จากบทความวิชาการ และงานวิจัยต่างๆ มุ่งเน้นการศึกษาปัจจัยทางการบริหารที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โดยผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ของพยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วย 1) กลยุทธ์ในการส่งเสริมศักยภาพทุนมนุษย์ 2) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 3) การรับรู้ความยุติธรรม 4) ความก้าวหน้าในวิชาชีพในองค์การที่ปฏิบัติงาน และ 5) ความสุขในการทำงาน ซึ่งประเด็นเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในองค์การของพยาบาลวิชาชีพ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยารัตน์ อ๋องคณา. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้คุณค่าในตน สภาพแวดล้อมในงานกับความสุขในการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาล เอกชนเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล, กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กฤษดา แสวงดี. (2550). สถานการณ์การทำงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทยในสิ่งแวดล้อมปลอดภัยการพยาบาลไทยมีคุณภาพประชาราษฎร์เป็นสุข. ในการประชุมวิชาการ วันที่ 16 - 18 พฤษภาคม 2550 ณ โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร.

เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2552). ความไว้วางใจในองค์การของประเทศไทย ศึกษาเปรียบเทียบองค์การภาครัฐภาควิสาหกิจและภาคเอกชน. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต รัฐประศาสนศาสตร์, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วิจิตรา กุสุมภ์ และคณะ. (2553). ประเด็นและแนวโน้มวิชาชีพการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: สามัญนิติบุคคลสหประชาพาณิชย์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2550). การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

เพ็ชราภรณ์ ชัชวาลชาญชนกิจ. (2557). การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของโรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสยาม.

ศรัณย์ พิมพ์ทอง. (2557). ปัจจัยเชิงเหตุที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 37(142): 16 - 32.

สมนันท์ สุทธารัตน์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในการทำงานภาวะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพรุ่นเจเนอเรชั่นวาย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. วารสารพยาบาลตำรวจ, 7(1): 237 - 252.

สำนักนโยบายยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข. (2557). รายงานทรัพยากรสาธารณสุข. นนทบุรี: สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

Arthur, et al. (2005). Career Success in a Boundaryless Career World. Journal of Organizational Behavior, 26, 177-202.

Bass B.M. & Riggio R. E. (2006). Transformational Leadership. 2nd ed. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates.

Chatchawanchanchanakit P. (2013). Effective Management of Public Hospitals in Thailand. Doctor of Philosophy Department of Management, Bangkok: Siam University.

Diener E. (2000). New Direction in Subjection Well – Being: The Science of Happiness and 77 Proposal for a National Index. The American Psychologist Association. 1(2), 34 – 43.

Fathabad, et al. (2016). Organizational Justice and the Shortage of Nurses in Medical & Educational Hospitals, in Urmia - 2014. Global Journal of Health Science, 8(2), 99 – 105. http://doi.org/10.5539/gjhs.v8n2p99

Folger R. & Cropanzano R. (1998). Organization Justice and Human Resource Management. California: Sage.

Gubman, L. E. (1998). The Talent Solution: Aligning Strategy and People to Achieve Extraordinary Results. New York, McGraw-Hill.

Kittisaknawin C. (2009). Trust in the Organization of Thailand. Comparative Study of the Organization Government, Enterprise and Private Sector. Doctor of Philosophy Public Administration, Bangkok: Ramkhamhaeng University.

Kusum W, et al. (2010). Issues and Trends in Nursing Profession. Bangkok: Ordinary Juristic Person United Commercial.

Lartey S., Cummings G., & Profetto-McGrath J. (2014). Interventions that Promote Retention of Experienced Registered Nurses in Health Care Settings: a Systematic Review. Journal Of Nursing Management, 22(8), 1027-1041. doi:10.1111/jonm.12105.

Lavoie-Tremblay M., et al. (2016). Transformational and abusive leadership practices: Impacts on novice nurses, quality of care and intention to leave. Journal of Advanced Nursing, 72(3), 582–592. doi: 10.1111/jan.12860.

Leventhal G. S. (1980). What should be done with equity theory? New approaches to the study of fairness in social relationship. In K. J. Gergen, M. S. Greenberg, & R. H. Willis (Eds.), Social exchange: Advances in theory and research (pp. 27–55). New York: Plenum.

Office of Strategic Policy, Ministry of Public Health. (2014). Report of public health resources. Nonthaburi: Office of the Permanent Secretary for Public Health.

Ongkhana K. (2006). Relationship between personal factors. Awareness of values in one's own environment On the job and happiness at work of staff nurses in private hospitals Bangkok. Master of Nursing Thesis Nursing Administration Program. Bangkok: Chulalongkorn University.

Pimthong S. (2014). Causal Factors Influencing Organizational Persistence of University Staff in Thailand. Journal of Business Administration Faculty of Commerce and Accountancy Thammasat University, 37 (142): 16 - 32.

Pra Brahmagunabhorn (P.A. Payutto). (2007). Sustainable development. (6th edition). Bangkok: Sahamaha

Maslow. (1970). Motivation and Personality. New York : Harper and Row Publishers.

Mathis & Jackson. (2006). Human Resourse Management (11th ed). Ohio: South Western.

Tourigny L., Baba W., Lituchy T. (2016). On the Retention of Younger Nurses. Journal of Nursing and Care.
5(3), 1 - 6. doi:10.4172/2167-1168.1000350.

Sawangdee K. (2007). Working Situation of Professional Nurses in Thailand in a Safe Environment, Quality Thai Nursing, Happy Citizenship. In the Academic Conference Between 16 - 18 May 2007 at the Asia Hotel, Bangkok.

Suttharat S. (2015). Relationship between Work Environment, Leadership of Head Nurses and Organizational Commitment of Professional Generation Generation Y Nurses. University Hospital Autonomous. Journal of the Police Nurses, 7(1): 237 - 252.

Wanthayanan N. (2013). Factors Related to Intentional Persistence of Professional Nurses in the Group. Temporary Employees of Hospitals in Sakon Nakhon Province. Master of Nursing Science Program Nursing Administration, Chonburi: Burapha University.

Warr P. (2007). Searching for Happiness at Work. The Psychologist, 20(12), 726 - 729.

Yukl G. (2010). Leadership in Organizations. (7th ed.). New Jersey: Pearson Education.