พลวัตวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่าผาหมี จังหวัดเชียงราย
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลวัตทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่าผาหมี จากอดีตถึงปี พ.ศ.2563 ในบริบทของการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ซึ่งปัจจุบันดอยผาหมีเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงในเรื่องการเป็นต้นกำเนิดพื้นที่ปลูกกาแฟแห่งแรกในประเทศไทย
ผลจากการศึกษา พบว่า อาข่าผาหมีมีพลวัตทางวัฒนธรรมอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามสภาพการเปลี่ยนแปลงของบริบทที่แวดล้อมรอบชุมชน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเห็นได้จากลักษณะทางกายภาพ และวัฒนธรรมของอาข่าผาหมี ได้แก่ ความเชื่อ การจัดพิธีกรรม รวมถึงอุปกรณ์ในการนำมาทำเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สิ่งปลูกสร้างภายในชุมชน รวมถึงการแสดงในโอกาสต่าง ๆ ทั้งใน-นอกชุมชน
Article Details
บท
บทความวิจัย
รายละเอียดของลิขสิทธ์
References
กรมการจัดหางาน.(2557).วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงาน ปี พ.ศ.2557.กรุงเทพฯ : กรมการจัดหางาน.
19-22.
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดเชียงราย.2561-2564 .แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย.
เชียงราย : สำนักงานจังหวัดเชียงราย.
เชษฐา พวงหัตถ์ (2551). ทฤษฎีสังคมและการทำความเข้าใจสภาวะสมัยใหม่ของแอนโธนี กิ๊ดเดนส์ : 26
(1). 2-41.
นิยพรรณ (ผลวัฒนะ) วรรณศิริ.(2550).มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท
เบน แอนเดอร์สัน.(2552).ชุมชนจินตกรรม บทสะท้อนว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายของชาตินิยม.มูลนิธิ
ตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ : กรุงเทพฯ.
ไพโรจน์ คงทวีศักดิ์.(2554).อาข่าไนท์บาซาร์ การค้ากับความเป็นชาติพันธุ์.เชียงใหม่ : คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วลัยลักษณ์ ทรงศิริ.(2556).ฟื้นพลังความหลากหลายทางวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : มูลนิธิเล็กประไพ วิริยะพันธุ์
วิไลลักษณ์ มาเยอะ.(2563).ข้อมูลพื้นฐานชนเผ่าพื้นเมือง กลุ่มชาติพันธุ์อาข่า.http:// www.openBase.in.th.26 มิย.2563
สุริชัย หวันแก้ว .2537. “การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม” สังคมและวัฒนธรรม.(พิมพ์ครั้งที่ 4).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อุไรวรรณ แสงศร.(2539).บ้านอีก้อ ความเชื่อและภูมิปัญญาชาวบ้าน. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยชาวเขา
19-22.
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดเชียงราย.2561-2564 .แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย.
เชียงราย : สำนักงานจังหวัดเชียงราย.
เชษฐา พวงหัตถ์ (2551). ทฤษฎีสังคมและการทำความเข้าใจสภาวะสมัยใหม่ของแอนโธนี กิ๊ดเดนส์ : 26
(1). 2-41.
นิยพรรณ (ผลวัฒนะ) วรรณศิริ.(2550).มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท
เบน แอนเดอร์สัน.(2552).ชุมชนจินตกรรม บทสะท้อนว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายของชาตินิยม.มูลนิธิ
ตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ : กรุงเทพฯ.
ไพโรจน์ คงทวีศักดิ์.(2554).อาข่าไนท์บาซาร์ การค้ากับความเป็นชาติพันธุ์.เชียงใหม่ : คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วลัยลักษณ์ ทรงศิริ.(2556).ฟื้นพลังความหลากหลายทางวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : มูลนิธิเล็กประไพ วิริยะพันธุ์
วิไลลักษณ์ มาเยอะ.(2563).ข้อมูลพื้นฐานชนเผ่าพื้นเมือง กลุ่มชาติพันธุ์อาข่า.http:// www.openBase.in.th.26 มิย.2563
สุริชัย หวันแก้ว .2537. “การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม” สังคมและวัฒนธรรม.(พิมพ์ครั้งที่ 4).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อุไรวรรณ แสงศร.(2539).บ้านอีก้อ ความเชื่อและภูมิปัญญาชาวบ้าน. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยชาวเขา