ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้นโยบายการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรณีศึกษา ความสัมพันธ์ พลวัต ปัญหา และข้อจำกัด
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาปัญหาและข้อจำกัดของความสัมพันธ์และพลวัตระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้นโยบายการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพประกอบด้วยการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและแบ่งกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็น 3 กลุ่ม คือ1.กลุ่มเจ้าหน้าที่ภาครัฐ 2.กลุ่มภาคประชาสังคม และ3. กลุ่มภาคธุรกิจ ผลการวิจัยอธิบายถึง 1.ปัญหาและข้อจำกัดของความสัมพันธ์และพลวัตระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็นเรื่องกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ 2.ปัญหาและข้อจำกัดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้วาทกรรมนโยบายการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สำหรับข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย รัฐควรให้ความสำคัญต่อประเด็นเรื่องการกระจายอำนาจและหลักการมีส่วนร่วมในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากกว่าที่จะให้ความสำคัญผ่านการสั่งการและควบคุมในเชิงกฎหมายและนโยบายเท่านั้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
รายละเอียดของลิขสิทธ์
References
กฤตติกา เศวตอมร และสมิหรา จิตตลดากร. (2561). การนำนโยบายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปปฏิบัติรอบสถานศึกษา. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2564, จาก http://www.polsci-law.buu.ac.th/journal/document/11-2/24.pdf
จุฬาพัฒน์ ช่างเกต. (2561). การแก้ไขปัญหาสุราตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551และมาตรการทางกฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ปัจจุบัน. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2564, จาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link
นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์. (2559). นโยบายสาธารณะในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. 2(1), 80-93.
นพพล วิทย์วรพงศ์, สมทิพ วัฒนพงษ์วานิช, กมลนัทธ์ มีถาวร และพงศกร เรืองเดชขจร. (2559). นโยบายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทยในกรอบ 5P. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2564, จาก http://cas.or.th/cas/wp-content/uploads/2019/06/%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%
นพรัตน์ พาทีทิน. (2561). การตระหนักรู้ต่อผลกระทบทางสังคมของการดื่มแอลกอฮอล์ต่อผู้อื่นจากประสบการณ์ของพื้นที่ชุมชนต้นแบบงดเหล้าแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รายงานการวิจัย). สงขลา: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ไพศาล ลิ้มสถิตย์และจุมพล แดงสกุล. (2564). กฎหมายและนโยบายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่างประเทศและข้อเสนอในการแก้ไขปรับปรุง พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2564, จาก http://www.roadsafetythai.org/project_download_bookdetail-edoc-620-7.html
พระมหากำพล คุณงฺกโร. (2557). ปัญหาการดื่มสุราในสังคมไทย. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา. 8(2), 105-113.
ภานรินทร์ ณัฏฐากรกุล, อดิศร วงศ์คงเดช, และกฤษณ์ ขุนลึก. (2562). การพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมเพื่อควบคุมการดื่มสุรา ของวัยรุ่นในเขตชุมชนใกล้สถานศึกษาแห่งหนึ่ง. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น. 26(1), 27-34.
วันเฉลิม ว่องสนั่นศิลป์. (2562). ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 กรณีศึกษาในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2564, จาก http://www.hu.ac.th/conference/conference2019/proceedings2019/FullText/01%20-%20%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%20-
สาวิตรี อัษณางค์กรชัย. (2561). รายงานสถานการณ์การดำเนินนโยบายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ของประเทศไทย ระหว่าง พ.ศ. 2551-2561 ภายใต้โครงการ Joint Assessment Mission to Review Alcohol Control Policy and Strategy in Thailand, สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2564, จาก http://www.roadsafetythai.org/download_bookdetail-edoc-620.html
องค์การสุรา กรมสรรพสามิต. (2563). กฎหมายเกี่ยวกับแอลกอฮอล์. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2564, จาก https://www.liquor.or.th/law
สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า (สคล.) ภาคเหนือตอนบน. (15 มิถุนายน 2564). สัมภาษณ์.
สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า (สคล.) ภาคเหนือตอนล่าง. (10 มิถุนายน 2564). สัมภาษณ์.
ตัวแทนภาคประชาชนในการขับเคลื่อนคราฟต์เบียร์. (25 สิงหาคม 2564). สัมภาษณ์.
ร้านจำหน่ายไวน์แห่งหนึ่งในเพจออนไลน์. (1 กรกฎาคม 2564). สัมภาษณ์.