Language Vitality and Endangerment: A Case Study of Hani (Akha) People Dwelling Village in Yunnan, China
Main Article Content
บทคัดย่อ
This study was designed to investigate the status quo of the language use and language attitude of Hani people, and to evaluate the language vitality and endangerment in Meichong Village. The data was collected through family visits, questionnaires, interviews and a 400- Hani-core wordlist test. The findings indicated that the Hani adults were fluently speaking their mother language, in contrast, the Hani adolescents were influent; and the mother language was very stable among adults and its vitality was strong, while the adolescents’ mother language ability is declining. Meanwhile, Hani people held strong desires to maintain their mother language, however, in reality, the maintenance of mother language was not being taken into action, instead, they taught the young generation Mandarin as the first language in order to adjust to the dominant culture and education
บทความนี้ เป็นการศึกษาเพื่อตรวจสอบสถานภาพของการใช้ภาษา และทัศนคติต่อภาษา ของกลุ่มชาติพันธุ์ฮาหนี่ (อาข่า) เพื่อประเมินความเข้มแข็งและการสูญหายของภาษาในหมู่บ้านเม่ยชงโดยใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์ระดับครัวเรือนแบบมีแบบสอบถาม และทดสอบคำศัพท์พื้นฐานภาษาฮาหนี่400คำผลการศึกษา พบว่า คนฮาหนี่ที่เป็นผู้ใหญ่สามารถพูดภาษาแม่ได้อย่างคล่องแคล่ว ในทางตรงกันข้าม คนฮาหนี่ที่เป็นวัยรุ่นพูดภาษาแม่ได้ไม่ค่อยคล่องนัก ทั้งนี้ เนื่องมาจากภาษาแม่มีเสถียรภาพและมีความเข้มแข็งมากในหมู่ผู้ใหญ่ แต่ความสามารถในการใช้ภาษาแม่ได้ลดลงในกลุ่มวัยรุ่น ขณะเดียวกันชาวฮาหนี่ก็ยังคงรักษาพูดและใช้ภาษาแม่ได้อย่างมั่นคง แต่ความต้องการที่จะรักษาภาษาแม่ไว้นั้นไม่ได้นำไปสู่การปฏิบัติอย่างแท้จริง กลับมุ่งสอนภาษาจีนแมนดารินให้เป็นภาษาที่หนึ่งให้แก่คนรุ่นใหม่เพื่อสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมวัฒนธรรมแบบจีน และสามารถเข้ารับการศึกษาตามระบบได้
Article Details
รายละเอียดของลิขสิทธ์