BEHAVIORAL INTENTIONS USING TECHNOLOGY OF B GENERATION AND X GENERATION
Keywords:
Expectation in Efficiency, Expectation in Effort, Social Influence, Attitude, Behavioral IntentionsAbstract
The purpose of this research was to study the path of influence of (1) expectation in efficiency; (2) expectation in effort; (3) social influence and attitudes towards technology usage behavior; (4) supporting environment; and (5) sex and age in experience and voluntary affecting behavioral intentions in the usage of technology of a group of Generation B & X. The data was collected from people who used to use technology in daily life, 400 people, using simple random sampling method. The instrument used was questionnaire. Data were analyzed using statistical tools, component analysis and path analysis to verify the consistency of causal structural models of behavioral intentions in the usage of technology of Generation B and Generation X
It was found that attitude factor toward technology usage behavior had a positive direct influence, which was correlated by gender, age, experience and voluntary. While the expectation factor in efficiency had a positive direct influence by interacting with experience using technology, but no interaction by sex and age. While supporting environmental factors had a negative direct influence but are interacted by sex and age. Factors of expectations in efforts and social influences did not influence behavioral intention in using technology but interacts according to gender, age, voluntary and technology experience. While the behavioral intentions had a positive direct influence on the technology usage behavior of Generation B & X groups at significant level of 0.05.
References
กริช แรงสูงเนิน. (2554). การวิเคราะห์ปัยจัยด้วย SPSS และ AMOS เพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น
กันตพล บันทัดทอง. (2558). พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และความพึงพอใจของกลุ่มคนผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS. กรุงเทพฯ. การเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์. (2557). ม.ป.ท.: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
กุศล สุนทรธาดา. (2555). โครงการศึกษาเพื่อหารูปแบบการส่งเสริมการมีงานทําแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ชนบท. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, มหาวิทยาลัยมหิดล.
เกวรินทร์ ละเอียดดีนันท์, และนิตนา ฐานิตธนกร. (2559). การยอมรับเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภคทางออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร.บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
เฉลิมศักดิ์ บุญประเสริฐ. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ของผู้สูงอายุ. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
ชมพูนุท พรหมภักดิ์. (2556). การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของไทย. บทความวิชาการ สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
ธาดาธิเบศร์ ภูทอง, และนัทธมน มั่งสูงเนิน. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการยอมรับบริการสุขภาพผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้สูงอายุ. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจและภาษาอังกฤษ คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นันทิช ฉลองโภคศิลชัย, และหทัยชนก สุขเจริญ. (2555). พฤติกรรฒการใช้เฟซบุค (Face Book)ของผู้สูงอายุในจังหวัดสมุทรปราการ. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บังอร สำเนียงเพราะ. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับและพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสำนักงานเสมือน กรณีศึกษา: หน่วยงานปฎิบัติงานภาคสนามองค์กรให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่. สาขาวิชาบริหารเทคโนโลยี วิทยาลัยนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วริศรา สอนจิตร, และกมล ดอนขวา. (2559). ความตั้งใจซื้อสินค้าหรือบริการ ออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟน.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
วีรณัฐ โรจนประภา. (2560). พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีที่มีผลต่อระดับความสุขของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต.
ศศิจันทร์ ปัญจทวี. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้ระบบสารสนเทศ กรณีศึกษา: สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศักรินทร์ ตันสุพงษ์. (2557). ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับแอพพลิเคชั่นไลน์. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ศิริพร แซ่ลิ้ม. (2558). พฤติกรรมการใช้ไลน์แอพพลิเคชั่นของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สามลดา จิรวัฒน์ วงศ์ธงชัย. (2555). ปัจจัยด้านการรับรู้ที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีบาร์โค้ดสองมิติของผู้ใช้งานกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย. สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
อมรเดช สุขเกษม. (2556). ความคาดหวังต่อการยอมรับโมบายเลริ์นนิ่งของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อรทัย เลื่อนวัน. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ:กรณีศึกษากรมการพัฒนาชุมชนศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ. คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อรวรรณ สุขยาน. (2559). ความตั้งใจในการใช้ระบบสารสนเทศการบริหารทรัพยากรบุคคลของบุคลากรสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์: การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
อาทิตย์ เกียรติกําจร. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยี: กรณีศึกษาการใช้เทคโนโลยี Interactive Whiteboard ในการเรียนการสอนของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล.มหาวิทยาลัยมหิดล.
Ajzen, I. (1985). From intentions to actions : A theory of planned behavior. In J. Kuhl & J. Beckman (Eds.), Action-control: From cognition to behavior (pp.11-39). Heidelberg: Springer
Chu, A. Z-C., & Chu, R. J-C. (2011). the intranet’s role in newcomer socialization in hotel industry in Taiwan-technology acceptance model analysis [Electronics version]. The International Journal of Human Resource Management, 22(5), 1163-1179.
Conbach, L. Joseph. (1984). Essential of Psychology and Education. New York: Mc–Graw Hill.
Eagly & Chaiken. (1993). Attitude toward use.
Howard, J.A. (1994). Buyer behavior in marketing strategy (2nd ed.). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.
Downloads
Published
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว