การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันประสิทธิผลการดำเนินงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมกลัด อำเภอเมือง จังหวัดตราด
คำสำคัญ:
ประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลแหลมกลัด, การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันบทคัดย่อ
การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันประสิทธิ ผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลแหลมกลัด อำเภอเมือง จังหวัดตราดมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์และตรวจสอบองค์ประกอบเชิงยืนยัน ประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วน ตำบลแหลมกลัด อำเภอเมือง จังหวัดตราดตาม สมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยทั้งสิ้น 500 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้ วิธีการสุ่มตัวอย่างชั้นภูมิแบบเป็นสัดส่วนหลังจากนั้นจึงใช้วิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายแบบจับฉลาก และ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์และตรวจสอบองค์ประกอบเชิงยืนยัน ประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลแหลมกลัด อำเภอเมือง จังหวัดตราดด้วย โปรแกรม M-plus Demo Editor
ผลการวิเคราะห์และตรวจสอบองค์ประกอบ เชิงยืนยันประสิทธิผลการดาเนินงานขององค์การ บริหารส่วนตำบลแหลมกลัด อำเภอเมือง จังหวัดตราด พบว่าโมเดลการวัดตัวแปรประสิทธิผลการ ดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลแหลมกลัด อำเภอเมือง จังหวัดตราด อันได้แก่ ด้านผลผลิตของ องค์การ ด้านการบรรลุเป้าหมายขององค์การ และ ด้านการปรับตัวขององค์การตามลำดับ มีความ สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าดัชนีความสอดคล้องกลมกลืนประกอบด้วย X2 =0.000, df = 1, P-value =0.998 , TLI = 1.004, RMSEA = 0.000, SRMR =0.000, CFI = 1.000, X2 / df = 0.000
References
เฉลิมพล ศรีหงษ์. (2543). ระเบียบวิธีวิจัย. ม.ป.ท.
ณัชชากร เอมเปีย. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยใน โรงงานประกอบรถยนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา. (วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฏีบัณทิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฏราชนครินทร์).
ธงชัย สันติวงษ์. (2543). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
วิภาดา คุปตานนท์.(2548). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนาธรรมองค์การกับประสิทธิผลขององค์การ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์, มหาวิทยาลัยรังสิต.
โศภิดา คล้ายหนองสรวง. (2558). การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณทิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2546). ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.2542. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2560. เข้าถึงได้จาก http;//www.ocsc.go.th./Good Government/ GGH.pdf.
สมหมาย เทียนสมใจ (2556). รูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพของ สำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปกร).
องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมกลัด.(2560). แผนพัฒนาสามปี 2557-2560 องค์การบริหารส่วนตำบลนาแหลมกลัด อำเภอเมือง จังหวัดตราด. ม.ป.ท.
พงษ์เสฐียร เหลืองอลงกต. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลกับคุณภาพการบริการขององค์การบริหารส่วนตำบลนายายอาม อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี.วารสารสุโขทัย ธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 27(1), 78 – 90.
Cameron, K.S.(1978) “Measuring Organizational Effectiveness in Institutions of Higher Educa-tion.” Administrative Science Quarterly 23: 604-632. Comrey, A. L., & Lee, H. B. (1992). A first course in factor analysis (2nd ed.). Hillsdale, NJ: Law-rence Erlbaum Associates.
Georgopoulos, B. S., & Tannenbaum, A. S. (1991). A study of organizational effectiveness. American Sociological Review, 22(5), 534-540.
Gerloff, E. A. (1985). Organizational theory and design: A strategic approach for manage-ment. New York: McGraw-Hill.
Gibson, J. L., Ivancevich, J. M. & Donnelly, J. H. (1973).Organizations: Structure, process, be-havior. Texas: Business Publications.
Gilley, A.; Gilley, J. W. & McMillan, H. S. (2009). Organizational Change: Motivation, Communication, and Leadership Effectiveness. Performance Improvement Quarterly. 21(4), pp. 75-94.
Hoy, W. K., &Miskel, C. G. (2001). Educational administration: Theory research and practice. New York: McGraw - Hill.
Hooper, D., Coughlan, J., & Mullen, M. (2008). Structural Equation Modeling: Guidelines for Determining Model Fit. Electronic journal of Business Research Methods. 6(1), 53-60.
Kotter, J. P. (1996). Leading Change. Boston: Harvard Business School.
Mason, C. M., Chang, A. C. F., & Griffin, M. A. (2005). Strategic use of employee opinion sur-veys: Using a quasi-linkage approach to model the drivers of organizational effective-ness. Australian Journal of Management, 30(1), 127-143.
Muthén, L. K., and Muthén, B.O. (2008).Mplus: The Comprehensive Modeling Program for Applied Researchers user’s guide, Version 5.21. Los Angeles, CA: Muthén & Muthén.
Onyango, W. P. (2014). Effect of organization culture management: A case of the vocational training centre for the blind and deaf sikri. European Journal of Business and Man-agement. 6(34), 204-214.
Parsons, T. (1994). Structure and process in modern societies. New York: The Press Clench.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว