ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย
คำสำคัญ:
สภาวะแวดล้อมการทำงาน, การตรวจสอบภายใน, ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานบทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายในของสถาบันอุดม ศึกษาเอกชนในประเทศไทย ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ หัวหน้างานตรวจสอบภายใน และเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในของสถาบันอุดมศึกษาของเอกชนในประเทศไทย จำนวน 116 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
ผลการวิจัยพบว่าในด้าน 1) คุณค่าของความซื่อสัตย์และจรรยาบรรณ 2) ปรัชญาและลักษณะการบริหารงานของผู้บริหาร 3) โครงสร้างองค์กร 4) การมอบหมายอานาจหน้าที่ 5) สภาพการใช้เทคโนโลยีในองค์กร และ 6) ความสามารถในหน้าที่ของบุคลากร มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติ งานตรวจสอบภายใน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยส่งผลกระทบถึงร้อยละ 61.2 (R2 =0.612)
References
ฐิติรัตน์ มีมาก. (2552). การประเมินประสิทธิผลการควบคุมภายในของสหกรณ์การเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิชาการ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 15 (1).
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2548). แนวทางการตรวจสอบภายใน. กรุงเทพฯ: ดูมายเบส.
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2553). การประเมินโครงการ แนวคิด และแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทัชชภร พุ่มเถื่อน. (2556). สภาพแวดล้อมในการทางานที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานการตรวจสอบภายในของผู้ตรวจสอบภายในขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครราชสีมา. (วิทยานิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล).
สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. (2558). จำนวนและรายชื่อสมาชิกสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2559, จาก http://www.apheit.org.
สมใจ ลักษณะ. (2552). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สมพงษ์ เกษมสิน. (2550). การบริหาร. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2545). การใช้สถิติในงานวิจัยอย่างถูกต้องและได้มาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ:เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง.
อุทัยรัตน์ แก้วกู่. (2554). ผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทางานที่มีต่อคุณภาพการตรวจสอบภายในของผู้ตรวจสอบภายในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. (วิทยานิพนธ์ ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).
Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis: A Global Perspective. (7th ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision Making. (4th ed). New York: John Wiley & Sons.
Burns & Stalker. (1961). The Management of Innovation. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559, จาก https://papers.ssrn.com/
Emerson, Harrington. (1931). The Twelve Principles of Efficiency. New York: the Engineering Magazine.
Hair, J.F., Jr., Black, W.C., Babin, B.J., & Stufflebeam, D.L. (1971). Educational Evaluation and Decision Making. Itasca, Illinois: Peacock.
Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis. New York: Harper & Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว