พฤติกรรมการซื้อ กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดและการจัดการโลจิสติกส์ ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันในยุควิถีใหม่ของประชาชน ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ผู้แต่ง

  • นิยม กริ่มใจ คณะบัญชีและวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

คำสำคัญ:

แอปพลิเคชัน, พฤติกรรมการซื้อ, ส่วนประสมทางการตลาด, การจัดการโลจิสติกส์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา พฤติกรรมการซื้อ กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดและการจัดการโลจิสติกส์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอพพลิเคชันในยุควิถีใหม่ของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ตัดสินใจซื้อสินค้าหรือวางแผนที่จะซื้อสินค้าหรือบริการผ่านแอพพิลเคชัน จำนวน 385 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Satisfied Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.985     ใช้การวิเคราะห์ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์   การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis)

ผลการวิจัยพบว่า

พฤติกรรมการซื้อในด้านอุปกรณ์การรับบริการต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอพพลิเคชันในยุควิถีใหม่ของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

ตัวแปรที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอพพลิเคชันในยุควิถีใหม่ของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (Y) ได้แก่ ปัจจัยด้านการชำระค่าสินค้าและการบริการลูกค้า (X12) ปัจจัยด้านกระบวนการจัดการคำสั่งซื้อ (X8) ปัจจัยด้านราคา (X2) และปัจจัยด้านกระบวนการให้บริการ (X6) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยเท่ากับ 0.349, 0.310, 0.099 และ 0.121 ตามลำดับ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนาย (R2) เท่ากับ 0.730 สามารถทำนายการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอพพลิเคชันในยุควิถีใหม่ของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลได้ร้อยละ 73.0 โดยผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณสามารถนำไปสร้างสมการพยากรณ์ได้ดังนี้

          สมการในรูปคะแนนดิบ

          Y' = 0.569 + 0.349 (X12) + 0.46(X8)+ 0.099(X2) + 0.021(X6)

         

References

กตัญญุตา โอเช่ และ สุวัฒนา ตุ้งสวัสดิ์. (2565). การตลาดดิจิทัลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในกลุ่มจังหวัดนครชัยบุรินทร์. วารสารวิชาการเทคโนโลยีการจัดการ, 3(1), 57-70.

เกรียง กิจบำรุงรัตน์. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคทางสังคมออนไลน์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาร, 41(1), 18-28.

จิดาภา ธัญญรัตนวานิช. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดนนทบุรี. บทความวิจัย วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 7(1), 311-323.

จุฑากมล มนโกศล และทรงวุฒิ ดีจงกิจ. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการรถไฟฟ้ามหานคร ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (โควิด-19) กรณีศึกษารถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน). วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(11),285-298.

ชลลดา มงคลวนิช. (2563). ปัจจัยความเชื่อมั่นที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของเยาวชนไทย. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 27(2), 189-214.

ชุติมา คล้ายสังข์. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 15(1), 37-69.

ฑิตาพร รุ่งสถาพร และ ปฐมา สตะเวทิน (2564). พฤติกรรมผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าบนช่องทางออนไลน์ในภาวะวิกฤตโควิด-19 ในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และพิษณุโลก. วารสารนิเทศศาสตร์,39(2), 119-133.

พนิดา ตันศิริ. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของกลุ่มเจเนอเรชัน Z ในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 28(1), 55-68.

พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

มาลี บุญศิริพันธ์. (2563). บัญญัติศัพท์ New Normal. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสภา.

มรกต กำแพงเพชร, ธีร์รัฐ รัฐรวีฐากรณ์, บุษบา เถารักตระกุล และอัญชลี สมบูรณ์. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแพลตฟอร์มจีนของผู้ประการใหม่ กรณีศึกษา TAOBAO. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 14(1), 460-476.

ศิริ พลอยจินดา และ นพดล บุรณนัฏ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารการจัดการโลจิสติกส์การขนส่งทางเรือ กรุงเทพมหานคร. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา, 9(3). 1-10.

สุธาทิพย์ ทั่วจบ. (2562). พฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 8(2), 195-205

สุภกร ตันวราวุฒิชัย และบุญไทย แก้วขันตี. (2564). ปัจจัยการตลาดแบบดิจิทัล การโฆษณาผ่านสื่อสังคมออนไลน์และความสามารถด้านโลจิสติกส์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านช่องทางพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์, 15(22), 23-40.

แสตมป์ กัลยาภานันท์ และทรงวุฒิ ดีจงกิจ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อวัสดุก่อสร้างจากร้านค้าวัสดุก่อสร้างดั้งเดิม (Traditional Trade) ในจังหวัดชลบุรี. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(11), 255-266.

Brand, Buffet. (2018). Statistics of digital users around the world “Thailand” is the most addicted to the Internet in the world “Bangkok”, the city of the most Facebook users. Retrieved from https://www.brandbuffet.in.th/2018/02/ global-and-Thailand-digital-report-2018/

Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. (3rd Edition). New York: John Wiley & Sons.

Kotler, P. & Keller, K. L. (2016). Marketing Management. (15th global edition). Edinburgh: Pearson Education.

Lamb, C. W., Hair, J. F., & McDaniel, C. (2000). Marketing. United States: South-Western College.

Likert, R. (1932). A Technique for the Measurement of Attitudes. Archives of Psychology, 140,1-55.

Powell, G.R., Groves, S.W., & Dimos, J. (2011). ROI of Social Media: How to Improve the Return on Your Social Marketing Investment. Singapore: John Wiley & Sons.

Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (2007). Consumer Behavior. (9thed.) New Jersey: Pearson Prentice.

Stock, J.R. & Lambert, D.M. (2001). Strategic logistics management. Singapore: McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28