แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็นนักสร้างสื่อดิจิตอลเพื่อสังคมปลอดภัยและสร้างสรรค์

Main Article Content

สามมิติ สุขบรรจง

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง “แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็นนักสร้างสื่อดิจิทัลเพื่อสังคมปลอดภัยและสร้างสรรค์” มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ เพื่อจัดทำแนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็นนักสร้างสื่อยุคดิจิทัลเพื่อสังคมปลอดภัยและสร้างสรรค์ ผลการศึกษาพบว่า ประเด็นที่ 1
สื่อดิจิทัลมีความสำคัญต่อสังคมยุคปัจจุบัน กลุ่มตัวอย่างมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของสื่อดิจิทัลในระดับสูงและมีการมองเห็นถึงความสำคัญของสื่อดิจิทัลว่ามีความสำคัญกับสังคมในยุคปัจจุบันมีอิทธิพลต่อมุมมอง ความคิดและการตัดสินใจถึงความสำคัญของสื่อดิจิทัลได้เป็นอย่างดี ประเด็นที่ 2 ความเข้าใจลักษณะของสื่อที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ประเด็นที่ 3 ความสำคัญและลักษณะของนักสร้างสื่อที่มีความสำคัญต่อการทำให้สังคมปลอดภัยและสร้างสรรค์ ประเด็นที่ 4 กระบวนการสร้างสื่อที่มีความสร้างสรรค์และปลอดภัย กลุ่มตัวอย่างได้นำความรู้ไปใช้ในกระบวนการทำงานในส่วนของการวิจัยเชิงปฏิบัติการในการสร้างสื่อที่มีความสร้างสรรค์และปลอดภัย
ซึ่งผลงานที่กลุ่มตัวอย่างสร้างสรรค์ออกมาถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์การศึกษา รวมถึงผลการศึกษาจากการสัมภาษณ์เชิงลึกที่พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้ง 8 คน มีความคิดเห็นในทางเดียวกันเกี่ยวกับการสร้างสื่อที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Arntz, A., & Lobbestael, J. (2018). Cognitive structures and processes in personality disorders. In W. J. Livesley & R. Larstone (Eds.), Handbook of personality disorders: Theory, research, and treatment (pp. 141–154). The Guilford Press.

Bocji, P., Greasley, A., & Hickie, S. (2015). Business information systems (5thed.). New York Pearson

Carr, A. (2004). Positive psychology: The science of happiness and human strength. New York: Brunner-Routledge.

Gerdruang, A. (2017). Empowering learning in the 21st century for Thailand society in the digital age. Lampang Rajabhat University Journal, 6(1), 173-184.

Gomez, J., & Ramcharan, R. (2022). COVID-19 and Infodemic in Southeast Asia. Thai Media Fund Journal, 1(1), 80-103.

Hongsakul, W. (2018) Active learning management in the era of Thailand 4.0. Graduate School Conference 2018. Retrieved from https://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/ miniconference/article/view/1642/1521

Morse, J. M. (1994). The cognitive processes of analysis in qualitative inquiry. In J. M. Mosre (Ed.), Critical Issues in qualitative research methods (pp. 23-43). Thousand Oaks, CA: Sage.

Naughton, G. M. (2001). Action research. Routledge.

Reynilds, G. W. (2012). Ethics in information technology (4thed). Boston: Cengage Learning.

Srisooksai, D. (2022) Media literacy: Promoting knowledge Vaccine for society. Thai Media Fund Journal, 1(1), 1-18.

Stair, R. M., & Reynilds, G. W. (2010). Principles of information systems a managerial approach (9thed.). USA Keri: Course Technology, Cengage Learning.

Viriyavorakul, P., & Phonak, D. (2014). Google apps for education an educational innovation in digital age. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 7(3), 103-111.