ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในตำบลพักทัน

Authors

  • อังขณา เสถียรถาวร สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินราชินี บ้านทุ่งกลับน้อย ตำบลพักทัน

Keywords:

Health promotion behaviors, Diabetes risk group, Perceived barriers, Self-efficacy

Abstract

        This quantitative research aims to explain and describe the relationship between cognitive-emotional factors and health-promoting behaviors. The sample in this study used population aged 35 years and over and them have a diabetic risk group of Phak Than sub-district. Bang Rachan District Singburi Province, 120 people. The instrument used was a questionnaire as a Likert scale. Data analysis: Descriptive statistics were used: number, percentage, mean and standard deviation and the standard deviation and Pearson's correlation coefficient.
      The results of this research were as follows: 1) Perception of benefits of health promotion (M = 3.62, S.D. = .318), perceived self-efficacy on health-promoting behaviors  (M = 2.88, S.D. = .427), and social support on health-promoting behaviors (M = 3.37, S.D. = .398), is at a high level. and health-promoting behaviors (M=2.29, SD=.327) were at a moderate level, and 2) Factors related to health-promoting behaviors among diabetes risk groups were perceived barriers to health-promoting behaviors (r = .-294, p = < 0.001), self-efficacy on health-promoting behaviors (r = .312, p = < 0.001).

References

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). 3 อ. 2 ส. รหัสป้องกันโรค. เข้าถึงจาก https://multimedia.anamai.moph.go.th/

กฤติยา แสวงทรัพย์. (2562). การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 11(22), 1-12.

ชาญยุทธ พรหมประพัฒน์. (3 มีนาคม 2561). ห่างไกลโรค NCD ด้วยหลัก 3อ. 2ส. ในมหกรรมสุขภาพโรคไม่ติดต่อ (NCD Forum 2017). กระทรวงสาธารณสุข. ThaiHealth Official.

นิธินันท์ เจริญบัณฑิตย์. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.). (วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัญฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

ประกาย วิโรจน์กุล. (2556). แนวคิด ทฤษฎี การสร้างเสริมสุขภาพและการนำมาใช้. นนทบุรี: โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก.

ประคอง อินทรสมบัติ. (2553). พยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ. (พิมพ์ครั้งที่ 10). นนทบุรี :โรงพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข. (2557). สถิติการตายปี 2552. เข้าถึงได้จาก http://bps.ops.moph.go.th/Statistic/.pdf.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี. (2566). ระบบคลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC) ระดับจังหวัด. เข้าถึงจาก https://sbr.hdc.moph.go.th/hdc/main/index_pk.php.

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบางระจัน. (2565). สรุปผลการคัดกรองสุขภาพประชาชนอำเภอบางระจันปี 2564. สิงห์บุรี.

วิไลวรรณ คมขำ, กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม และนพนัฐ จำปาเทศ. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับความเสี่ยงสูงในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 5(2), 44-56.

อารยา เชียงของ. (2561). ผลการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยการจัดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่มี

ต่อพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน. (ปริญญานิพนธ์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

Bandura, Albert. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall. Bandura, Albert.

Bloom, Benjamin S.J. (ed). (1975). Taxonomy of Education Objective, Hand Book 1: Cognitive Domain. New York: David Mckay.

Pender, N. J., Murdaugh C. L., & Parsons M. A. (2011). Health promotion in nursing practice. (6th ed.). New Jersey: Pearson/ Prentice Hall.

Pender, N.J. (1987). Health promotion in Nursing Paractice. (2nd ed.). Stamford, CT: Appleton & Lange.

Downloads

Published

2023-06-07

How to Cite

เสถียรถาวร อ. (2023). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในตำบลพักทัน. วารสารวิชาการ วิจัย และนวัตกรรม มสธ. (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) (ออนไลน์), 3(1), 56–67. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/InnovationStou/article/view/265058

Issue

Section

Research Articles