ความเข้าใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการใช้ประโยชน์บ่อนํ้าร้อนในเชิงสุขภาพ
คำสำคัญ:
แหล่งท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อน, ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, บ่อน้ำร้อนบทคัดย่อ
การวิจัยนี้ศึกษาความเข้าใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการใช้ประโยชน์บ่อน้ำร้อนเชิงสุขภาพ ประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวในการรักษาสุขภาพด้วยวิธีทางเลือก และสภาพแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อน การวิจัยนี้ใช้เวลา 2 เดือน ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักท่องเที่ยวที่มาเยือนแหล่งท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนเขาชัยสน โดยสุ่มแบบบังเอิญ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 225 คน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยไปเยือนแหล่งท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนมากกว่าหนึ่งแหล่ง โดยไม่ทราบว่าการอาบบ่อน้ำร้อนจะช่วยให้กระบวนการเผาผลาญอาหารดีขึ้น และไม่ทราบว่ามีโรคอะไรบ้างที่สามารถรักษาหรือบรรเทาได้จากการใช้บ่อน้ำร้อน นอกจากนั้น ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของบ่อน้ำร้อน และประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวด้านการรักษาด้วยวิธีทางเลือก ยังส่งผลต่อการไปเยือนแหล่งท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนและพฤติกรรมการใช้บ่อน้ำร้อนเพื่อสุขภาพ ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่าแหล่งท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนควรให้ความสำคัญกับการสร้างสื่อรูปแบบต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้มาเยือนมีความเข้าใจการใช้บ่อน้ำร้อนเพื่อสุขภาพมากขึ้น
References
จิโรธ สินทวานนท์, และงามเนตร เอี่ยมนาคะ. (2560). รายงานกิจกรรมการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าความรู้เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีไทยในเส้นทางสายน้ำพุร้อนของประเทศไทย กรณีศึกษา: บ่อน้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม จังหวัดกระบี่ และ บ่อน้ำพุร้อนแจ้ซ้อน จังหวัดลำปาง. http://www.thai-explore.net/file_upload/submitter/file_doc/84bc5778a16f6ef34d8c14aa27e2ac4f.pdf
ถนอมศักดิ์ ศรีจันทรา, และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2564). ความสามารถในการแข่งขันการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของแหล่งบ่อน้ำร้อนธรรมชาติในจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 12(1). 115-137
นำขวัญ วงศ์ประทุม, และดวงศิริ ภูมิวิชชุเวช. (2564). รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชนตามศาสตร์พระราชา. วารสารศิลปะการจัดการ, 5(2). 299-311
ผู้จัดการออนไลน์. (2564, 3 มีนาคม). ความรู้คู่สุขภาพ. https://mgronline.com/dhamma/detail/9580000074694
พันธ์ทิพย์สุดา โปษยานนท์. (2564). มุมมองของโลกต่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทยเสน่ห์และความท้าทายชวนให้ค้นหา. ใน งามเนตร เอี่ยมนาคะ และคณะ (บ.ก.), สู่เส้นทางสุขภาพสายประเทศไทย The Journey To Thailand Health Tourism EP.1. (น. 24 - 46).
กองสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.
พิชญลักษณ์ พิชญกุล. (2563). การศึกษาความคิดเห็นของชาวญี่ปุ่นที่พำนักในจังหวัดเชียงใหม่ในการพัฒนาองค์ประกอบของการท่องเที่ยวน้ำพุร้อนสันกำแพง. วารสารวิชาการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 16(1), 1–28.
รัมภ์รดา สารอูป, และมณฑกาณติ ชุบชูวงศ์. (2564). การศึกษาความพึงพอใจต่อแหล่งท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อการกลับมาเยือนซ้ำ ณ บ่อน้ำพุร้อนฝาง อุทยานแห่งชาติดอยฟ้าห่มปก จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 7(1). 136-146
วาสนา ขวัญทองยิ้ม, และพีรวัส หนูเกตุ. (2562, 5 สิงหาคม). ความคาดหวังของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเภทบ่อน้ำร้อนในพื้นที่ภาคใต้ฝั่งอันดามัน [Poster presentation], การประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, สงขลา, ประเทศไทย.
วนารัตน์ กรอิสรานุกูล, นวลวรรณ ทวยเจริญ, และ สุนันต์ อ่วมกระทุ่ม. (2554, 28 มกราคม). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวนํ้าพุร้อนธรรมชาติเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษานํ้าพุร้อนพระร่วง จังหวัดกําแพงเพชร. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554 “การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน”, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วรินท์น่า สิริพุทธิรักษ์, และกนกกานต์ แก้วนุช. (2562). การจัดการบ่อนน้ำร้อนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทย. วารวารสุทธิปริทัศน์, 33(105), 1–14.
ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์, ธวัชชัย ศุภดิษฐ์, พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์, และสุชาติ ฉันสําราญ. (2563). การสร้างอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยวของน้ําพุร้อนเค็มคลองท่อม จังหวัดกระบี่. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 2(2). 60-78
อรชา สกุลสิงห์, ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์, และยิ่งยศ โชคชัยวรรัตน์. (2554). การศึกษาปัจจัยด้านการบริหารการจัดการสถานที่ท่องเที่ยวที่มีผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาใช้บริการของน้ำพุร้อนสวนสาธารณะรักษะวาริน อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง. วารสารวิทยาลัยพาณิช
ยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 6(1). 69-82. http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2538
อิษฎาภรณ์ พิรัชต์ชัยกุล, และอัศวิน แสงพิกุล. (2564). ประสบการณ์การท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเภทบ่อน้ำพุร้อน ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทย ในอําเภอทองผาภูมิจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารมหาวิิทยาลััยราชภััฏกาญจนบุุรีี, 10(2). 223-264.
เอื้อมทิพย์ ศรีทอง. (2559). น้ำพุร้อน (Onsen): นวัตกรรมการจัดการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ และบำบัดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(2), 179–192.
Kapook Travel. (2559, 2 ตุลาคม). 10 น้ำพุร้อน-บ่อน้ำร้อนในไทย ไม่ต้องไปออนเซ็นไกลถึงญี่ปุ่น. https://travel.kapook.com/view115976.html
LONGDO DICT. (2564, 20 ธันวาคม). บ่อน้ำร้อน https://dict.longdo.com/search/
Thailandtourismdirectory. (2564, 4 มีนาคม). บ่อน้ำร้อนเขาชัยสน https://thailandtourismdirectory.go.th/th/attraction/87047
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง