GUIDELINES FOR SHORTAGE OF LABOR PROBLEM MANAGEMENT IN RESIDENTIAL CONSTRUTION INDUSTRY
Keywords:
Labor Shortage, Construction Workers, Personnel Management, Foreign WorkersAbstract
The purposes of this research article are: 1. To study internal and external environment and recommendations on labor shortage in housing construction industry. 2. Study the needs and actual conditions concerning characteristics, attitudes, behaviors, and skills/abilities of workers in the residential construction industry. 3. Study the personnel management factors that affect the actual labor characteristics. in the residential construction industry in Bangkok and its vicinity. 4. To propose ways to solve the labor shortage problem in the residential construction industry. Exploratory Research Characteristics using quantitative data (Quantitative data) in defining 3 sample populations: professionals, entrepreneurs, and workers in the construction industry. and qualitative (Qualitative data) in SWOT Analysis and data collection From the research results, it was found that internal environment in the organization according to management principles can partially solve the problem of labor shortage in the construction industry which if the construction industry is supported by external factors by the government will be able to solve problems better in the long run This corresponds to the demand for construction labor of entrepreneurs with good attributes. This results in long-term employment as well. In addition, the personnel management (HRM) factor can partially solve the problem. The current construction worker pays attention to remuneration and welfare in terms of good quality of life. The solution is supported by government agencies. In terms of increasing the number of direct imports of construction workers and the private sector There are good welfare management principles for construction workers. It will be able to reduce labor shortages and be able to maintain existing construction labor to work with agencies and organizations in the construction industry in the long run.
References
Prom2morrow. (2565). ปัญหาใหญ่ของรับเหมาก่อสร้างในช่วงวิกฤติโรคโควิด (Covid-19) ที่ผ่านมา คือการขาดแคลนแรงงานก่อสร้าง เพราะแรงงานต่างด้าวที่กลับไปยังประเทศตนเอง ยังไม่สามารถกลับมาได้เท่ากับจำนวนเดิมที่เคยมี โดยมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 15 จากร้อยละ 30 ที่หายไป. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://prop2morrow.com/2022/01/20/
กรมการจัดหางาน. (2562). แรงงานที่ได้รับอนุญาตทำงานมากที่สุด 3 อันดับแรก เป็นกิจการก่อสร้าง จำนวน 113,564 คน ซึ่งยังมีไม่เพียงพอต่อความต้องการในอุตสาหกรรมก่อสร้าง และเป็นแรงงานธุรกิจบริการต่างๆ จำนวน 78,712 คน รวมทั้งธุรกิจการผลิตหรือจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม จำนวน 62,302 คน. เรียกใช้เมื่อ 15 ตุลาคม 2561 จาก https://www.mol.go.th/wp-content/uploads/sites/2/2019 /07/0_full_annual_2559.pdf
กรมการพัฒนาธุรกิจการค้า. (2562). พบว่าผู้ประกอบการที่จดทะเบียนในประเภทธุรกิจก่อสร้างทั่วประเทศมีจำนวนประมาณ 79,648 ราย เป็นผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://www.dbd.go.th/more_ news.php?cid=1469
กระทรวงแรงงาน. (2560). กลุ่มอุตสาหกรรมก่อสร้างที่มีการจ้างแรงงานต่างด้าวถึงร้อยละ 65 ของอัตราการจ้างแรงงานต่างด้าว และจากการตรวจสถานประกอบการของเจ้าหน้าที่ภาครัฐตั้งแต่เดือน ตุลาคม พ.ศ.2559 – พฤษภาคม พ.ศ.2560 จำนวน 58,373 แห่ง มีแรงงานต่างด้าวผ่านการตรวจเพียง จำนวน 385,827 คน. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://www.mol.go.th/news/
กระทรวงแรงงาน. (2565). จากนโยบายค่าแรงขั้นต่ำปรับอัตราใหม่ โดยให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2565 ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปรับค่าแรงสูงขึ้นอัตราร้อยละ 5.02 จากเดิมวันละ 331 บาทต่อวัน ปรับขึ้นเป็นวันละ 353 บาทต่อวัน ซึ่งโดยปกติค่าแรงงานในอุตสาหกรรมก่อสร้. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://www.mol.go.th/news/
โตมร หลินตระกูล. (2556). ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอัตราค่าจ้างจากปัจจัยที่ส่งผลต่อการกำหนดค่าจ้างแรงงานก่อสร้าง โดยทำการศึกษาใน 2 ส่วนได้แก่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการกำหนดอัตราค่าจ้างแรงงานก่อสร้าง และการแบ่งระดับอัตราค่าจ้างแรงงานจากปัจจัยที่ส่งผลต่อการกำหนดอัตราค่าจ้. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://www.car.chula.ac.th/display7.php?bib=b2051678
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา. (2562). และธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในปี 2561 มีมูลค่า 1,264.4 พันล้านบาท และกลับมาขยายตัวร้อยละ 4.3 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาที่มีการหดตัวทางธุรกิจร้อยละ 0.9% ในปี 2560 เนื่องจากงานก่อสร้างโครงการใหม่มีความก้าวหน้ามากขึ้น ด้านโครงการต่อเนื่องมีการเร่งดำเนินการก่อสร้า. เรียกใช้เมื่อ 15 พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/ Construction-Construction-Materials/Construction-Contractors/IO/ Industry-Outlook-Construction-Contractors
ธิติวิตร์ สัตยธิติอริย. (2562). ศึกษาสาเหตุการขาดแคลนแรงงานไทย ในสาขาก่อสร้างพบว่า จะพบมากในภาวะเศรษฐกิจที่มีการขยายตัว จึงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น แต่ปริมาณงานก่อสร้างในประเทศไทย หรืออุปทานแรงงานก่อสร้างไทยมมีจำนวนไม่ต่างไปจากเดิม. สาเหตุการขาดแคลนแรงงานไทยในอุตสาหกรรมก่อสร้าง. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/262126
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 4). (2542). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 74 หน้า 4 (19 สิงหาคม 2542).
วิชาญชัย บุญแสง. (2563). ผลการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ปัจจุบันสวัสดิการด้านแรงงานต่างด้าวนั้น กฎหมายได้ให้ความเป็นธรรมอยู่แล้ว ผู้ประกอบการ ทุกคนก็ปฏิบัติตามด้วยดีและการทำงานในวันหยุดก็มีค่าล่วงเวลาตามกฎหมายและหากเจ็บป่วยก็จะมีประกันสังคม สามารถเข้ารักษาที่โรงพยาบาลที่เลือกไว้. เรียกใช้เมื่อ 15 สิงหาคม 2565 จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/twin92/6214155588.pdf
ศิริวิไล ชยางกูล. (2555). ที่กล่าวถึงผลงานวิจัยว่า การขาดแคลนแรงงานเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างทางเศรษฐกิจนั้น เกิดความไม่สมดุลในตลาดแรงงาน ทำให้ปริมาณงานมากกว่าจำนวนแรงงานที่มีอยู่ภายในประเทศ. เรียกใช้เมื่อ 18 กันยายน 2562 จาก http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/679
ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์. (2565). ภาวการณ์โรคระบาดโควิด (Covid-19) ราคาน้ำมันแพง ต้นทุนวัสดุก่อสร้างพุ่งสูงขึ้น และการขาดแคลนแรงงาน ที่ส่งผลกระทบในทุกปี โดยปัจจุบันสมาชิกสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ พบการขาดแคลนแรงงานก่อสร้างอยู่ประมาณ 6-7 แสนคน จากจำนวนแรงงานในกลุ่มรับเหม. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2565 จาก https://www.reic.or.th/
ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์. (2565). ยังได้ประเมินว่า ช่วงปี พ.ศ.2561 จนถึงปี พ.ศ.2583 ผู้รับเหมาไทยมีโอกาสที่จะเผชิญกับปัญหาขาดแคลนแรงงานราว 50,000-200,000 คนต่อปี อันเนื่องมาจากความต้องการแรงงานที่เพิ่มขึ้นจากโครงการก่อสร้างภาครัฐ ขณะเดียวกันคาดว่าแรงงานต่างด้าวจะลดลง เนื่องจากได้รับผลกระท. เรียกใช้เมื่อ 10 กันยายน 2565 จาก https://www.buildernews.in.th/news-cate/24373
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). โดยการเปรียบเทียบจากจำนวนและอัตราการว่างงาน พ.ศ.2560 และ พ.ศ.2561 ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2561 มีทั้งสิ้น คิดเป็นร้อยละ 1.0 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี พ.ศ.2560. เรียกใช้เมื่อ 18 ตุลาคม 2564 จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านสังคม/สาขาแรงงาน/ภาวะการทำงานของประชากร/2561/Report_Dec18.pdf
เสาวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์. (2553). ได้ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพแรงงานก่อสร้างและสาเหตุที่ทำให้อัตราผลผลิตงานก่อสร้างลดลง พบว่า ปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงาน และรองลงมาเป็นปัจจัยด้านการจัดการ และปัจจัยที่ส่งผลต่อการจ้างแรงงานต่างด้าว คือ ปัจจัยทางด้านการขาดแคลนแรงงา. เรียกใช้เมื่อ 10 สิงหาคม 2565 จาก http://www.sure.su.ac.th/xmlui/handle /123456789/11317
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.