รูปแบบการจัดการเกษตรผสมผสานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
คำสำคัญ:
รูปแบบการจัดการ, การเกษตรผสมผสาน, การพัฒนาอย่างยั่งยืนบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อรูปแบบการจัดการเกษตรผสมผสานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเกษตรผสมผสานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเพื่อการประเมินรูปแบบการจัดการเกษตรผสมผสานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเกษตรกร โดยวิธีวิจัย 3 ระยะ คือ 1) การวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยแบบสอบถามกับตัวแทนเกษตรกร จำนวน 398 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple regression Analysis: MRA) 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกับตัวแทนหน่วยงานรัฐ ผู้นำชุมชน และแกนนำเกษตรกร จำนวน 10 คน ใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหาแบบกำหนดทิศทางล่วงหน้า (Directed Content Analysis) และ 3) การสนทนากลุ่มกับนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อรูปแบบการจัดการเกษตรผสมผสาน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง 2) ระดับความยั่งยืนของการเกษตรผสมผสาน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยของรูปแบบการจัดการเกษตรผสมผสานในด้านความเข้าใจในระบบเกษตรผสมผสาน ด้านการจัดการปัจจัยการผลิต และด้านการให้คำแนะนำจากภาครัฐ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับมากกับความยั่งยืนของเกษตรผสมผสาน มีอำนาจพยากรณ์ได้ร้อยละ 58.08 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 และ 4) ผลของรูปแบบการจัดการเกษตรผสมผสานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย 1) ความตระหนักถึงคุณค่าของความยั่งยืน 2) การพัฒนาตนเองด้วยการเรียนรู้ระบบเกษตรผสมผสาน 3) การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และ 4) มีชีวิตและความสุขที่เกิดจากการเชื่อมโยงของชุมชน
References
กฤศณัฏฐ์ เมธวินชยุตม์ และคณะ. (2559). การจัดการความรู้สู่แผนชุมชนพึ่งตนเองเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา. วารสารสารสนเทศศาสตร์ (บรรณารักษ์ศาสตร์ มข.), 34(1), 1-25.
กีรติพร จูตะวิริยะ และพัชรินทร์ ลาภานันท์. (2557). เกษตรผสมผสาน: ยุทธศาสตร์การดำรงชีพของเกษตรกรอีสานภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10(3), 25-48.
จำเนียร จวงตระกูล. (2553). การวิจัยเชิงคุณภาพ: เครื่องมือสร้างองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด.
. (2561). ปัญหาการกำหนดกลุ่มตัวอย่างและวิธีการสุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารการบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 1(2), 1-21.
จำเนียร จวงตระกูล และนวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์. (2562). การวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ. PAAT Journal, 2(2), 1-14.
จุฬาภรณ์ ถาวร. (2550). การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการทำเกษตรกรรมยั่งยืนของแกนนำเกษตรกรจังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ฉัตรวรัญ องคสิงห์. (2558). ผู้หญิงกับการเปลี่ยนแปลงเชิงเศรษฐกิจ ศึกษากรณีเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดอ่างทอง. วารสารปัญญาภาวัฒน์, 7(1), 173-184.
ธนภูมิ ธราวุธ และคณะ. (2560). รูปแบบการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 10(1), 34-52.
นงนภัส คู่วรัญญู เที่ยงกมล. (2552). สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (ความมั่นคงทางอาหาร) เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นภาพร เวชกามา และรัตน์ ชิณแสน. (2558). รูปแบบเกษตรประณีตเพื่อพัฒนาอาชีพสู่ความยั่งยืน: กรณีศึกษาเกษตรกรตำบลนาโส่ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร. วารสารเกษตรพระวรุณ, 12(1), 59-66.
ปราณี หลําเบ็ญสะ. (2559). การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผล โครงการบริหารวิชาการท่าสาบโมเดล. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
พระใบฎีกาสุพจน์ ตปสีโล. (2552). การศึกษาวิธีการเผยแพร่แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของพระสงฆ์ในจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร และนครพนม. ใน รายงานการวิจัย. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พัชรพรรณ ยาโน. (2552). วิถีชีวิตกับการพัฒนาอาชีพของเกษตรกรแบบผสมผสานในจังหวัดชุมพร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พัชรินทร์ สิรสุนทร. (2556). แนวคิด ทฤษฎี เทคนิค และการประยุกต์เพื่อการพัฒนาสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ระพี สาคริก. (2553). แผ่นดินถิ่นเกิด เกษตรกรรม การศึกษาและอนาคตของแผ่นดิน. กรุงเทพมหานคร: ทางช้างเผือก.
สมชัย วงษ์นายะ และทวนทอง เชาวกีรติพงศ์. (2555). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการหมู่บ้านในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดกำแพงเพชรและจังหวัดตาก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, 19(1), 31-42.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน).
สีลาภรณ์ บัวสาย และก้าน จันทร์พรหมมา. (2552). ลุ่มน้ำปากพนังจากความขัดแย้งสู่ความสมานฉันท์. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน).
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสุนธุ์. (2540). การวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
อานัฐ ตันโช. (2556). ตำราเกษตรธรรมชาติประยุกต์ แนวคิด หลักการ เทคนิคปฏิบัติในประเทศไทย. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์ทรีโอแอดเวอร์ไทซิ่ง แอนด์ มีเดีย.
Creswell, J. W. (1998). Qualitative Inquiry and Research Design: Choosing Among Five Traditions. Thousand Oaks: Sage.
. (2013). Qualitative Inquiry & Research Design: Choosing Among Five Approaches. (3rd ed.). Thousand Oaks, California: SAGE.
Hsieh, H-F. & Shannon, S. E. (2005). Three Approaches to Qualitative Content Analysis. Qualitative Health Research, 15(9), 1277-1288.
Joungtrakul, J. et al. (2013). Qualitative Data Collection Tool: A New Approach to Developing an Interview Guide. AFBE Journal, 6(2), 140-154.
Korstjens, I. & Moser, A. (2018). Practical guidance to qualitative research. Part 4: Trustworthiness and publishing. European Journal of General Practice, 24(1), 120-124.
Leu, A. (2558). มายาคติว่าด้วยสารกําจัดศัตรูพืชที่อ้างว่าปลอดภัย - The myths of safe pesticides. กรุงเทพมหานคร: สวนเงินมีมา.
Marshall, B. et al. (2013). Does Sample Size Matter in Qualitative Research?: A Review of Qualitative Interviews in IS Research. Journal of Computer Information Systems (Fall), 11-22. Retrieved May 29, 2020, from https://pdfs.semanticscholar.org
Maykut, P. & Morehouse, R. (1994). Beginning Qualitiative Research: A Philosophic and Practical Guide. London: The Falmers Press.
Patton, M. Q. (1990). Qualitative Evaluation and Research Methods. (2nd ed.). Newbury Park, California: Sage.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd Ed.). New York: Harper and Row Publications.
Zhang, Y. & Wildemuth, B. M. (2009). Qualitative analysis of content. In B.M. Wildemuth (Ed.) ,Applications of Social Research Methods to Question information and Library Science (pp. 297-307). Westport, CT.: Libraries Unlimited.