ยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงระบบส่งกระแสไฟฟ้า ของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาวยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงระบบส่งกระแสไฟฟ้า ของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว
คำสำคัญ:
ยุทธศาสตร์, การบริหารความเสี่ยง, ระบบส่งไฟฟ้า, รัฐวิสาหกิจไฟฟ้าบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพความเสี่ยงในระบบส่งไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว 2) กำหนดยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงในระบบส่งไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว และ 3) ประเมินและเผยแพร่ยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงในระบบส่งไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว วิธีวิจัยแบบวิจัยและพัฒนา มี 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพความเสี่ยงระบบส่งไฟฟ้า กลุ่มตัวอย่าง คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานระบบส่งไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว จำนวน 215 คน ใช้แบบสอบถาม ด้วยสถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 กำหนดยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงระบบส่งไฟฟ้า ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 15 คน ใช้สัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา และระยะที่ 3 ประเมินและเผยแพร่ยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงระบบส่งไฟฟ้า ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว จำนวน 30 คน ใช้แบบประเมิน เลือกกลุ่มประชากรจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักด้วยการคัดเลือกแบบเจาะจง ด้วยสถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสรุปภาพรวม ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความสภาพเสี่ยง ภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง ( = 3.18, S.D. = 0.91) ได้แก่ 1.1) การเงิน 1.2) ระเบียบกฎหมาย 1.3) กลยุทธ์ และ 1.4) การดำเนินงาน และระดับ การบริหารความเสี่ยง ภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง ( = 3.26, S.D.= 0.99) ได้แก่ 1.1) ค้นหาและระบุ 1.2) วิเคราะห์ 1.3) ทำยุทธศาสตร์ และ 1.4) การประเมิน 2) กำหนดยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ ได้แก่ 2.1) บริหารด้านการเงิน 2.2) บริหารด้านระเบียบกฎหมาย 2.3) บริหารด้านกลยุทธ์องค์กร และ 2.4) บริหารด้านการดำเนินงาน และ 3) ผลประเมินยุทธศาสตร์ มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ค่าเฉลี่ยระดับ >3.51 ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
รัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว 2) กำหนดยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงในระบบส่งไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว และ 3) ประเมินและเผยแพร่ยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงในระบบส่งไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว วิธีวิจัยแบบวิจัยและพัฒนา มี 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพความเสี่ยงระบบส่งไฟฟ้า กลุ่มตัวอย่าง คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานระบบส่งไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว จำนวน 215 คน ใช้แบบสอบถาม ด้วยสถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 กำหนดยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงระบบส่งไฟฟ้า ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 15 คน ใช้สัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา และระยะที่ 3 ประเมินและเผยแพร่ยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงระบบส่งไฟฟ้า ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว จำนวน 30 คน ใช้แบบประเมิน เลือกกลุ่มประชากรจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักด้วยการคัดเลือกแบบเจาะจง ด้วยสถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสรุปภาพรวม ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความสภาพเสี่ยง ภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง ( = 3.18, S.D. = 0.91) ได้แก่ 1.1) การเงิน 1.2) ระเบียบกฎหมาย 1.3) กลยุทธ์ และ 1.4) การดำเนินงาน และระดับ การบริหารความเสี่ยง ภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง (
= 3.26, S.D.= 0.99) ได้แก่ 1.1) ค้นหาและระบุ 1.2) วิเคราะห์ 1.3) ทำยุทธศาสตร์ และ 1.4) การประเมิน 2) กำหนดยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ ได้แก่ 2.1) บริหารด้านการเงิน 2.2) บริหารด้านระเบียบกฎหมาย 2.3) บริหารด้านกลยุทธ์องค์กร และ 2.4) บริหารด้านการดำเนินงาน และ 3) ผลประเมินยุทธศาสตร์ มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ค่าเฉลี่ยระดับ
>3.51 ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2564). ข้อมูลพื้นฐานของต่างประเทศ 2564. เรียกใช้เมื่อ 5 มีนาคม 2564 จาก http://www.bangkokideaeasy.com/informations/ec/ index.php?op=dynamiccontent_detail&dynamiccontent_id=26198
กระทรวงพลังงานและเหมืองแร่. (2016). ยุทธศาสตร์การพัฒนาพลังงานครั้งที่ 8. สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว: กระทรวงพลังงานและเหมืองแร่.
เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานระบบส่งไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้า. (14 พฤษภาคม 2563). ยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงในระบบส่งไฟฟ้าของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว. (เฮืองสี ไซยาพอน ดาลาแสนา, ผู้สัมภาษณ์)
เฉลิมชาติ ธีระวิทยะ. (2559). การบริหารความเสี่ยงระดับองค์กรในโรงงานอุตสาหกรรม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10(3), 44-54.
ธนรัตน์ แต้วัฒนา. (2550). คู่มือการบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพมหานคร: ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาการพิมพ์.
พุฒิสรรค์ ศรีรัตนประชากูล. (2559). การพัฒนาแนวทางการบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา . มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
รัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว. (2562). โครงร่างการจัดตั้งฝ่ายปฏิบัติการไฟฟ้านครหลวง. นครหลวงเวียงจันทน์: รัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอาเซี่ยน กรมประชาสัมพันธ์. (2564). ระบบไฟฟ้า สปป.ลาว. เรียกใช้เมื่อ 5 มีนาคม 2564 จาก http://www.aseanthai.net/mobile_detail.php?cid= 50&nid=3189
สถาบันคลังสมองของชาติ มูลนิธิส่งเสริมทบวงมหาวิทยาลัย. (2563). การบริหารความเสี่ยงของสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันคลังสมองของชาติ มูลนิธิส่งเสริมทบวงมหาวิทยาลัย.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (2561). คู่มือการบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) (สพพ.). (2564). รายงานภาวะเศรษฐกิจของประเทศ สปป.ลาว. เรียกใช้เมื่อ 5 มีนาคม 2564 จาก https://www.neda.or.th//th/ news/detail?d=qQEcZatk.
สำนักพัฒนาตลาดและธุรกิจไทยในต่างประเทศ 1 กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2564). การค้าระหว่างประเทศ. เรียกใช้เมื่อ 5 มีนาคม 2564 จาก https://www.ditp.go.th/ contents_attach/ 311460/311460.pdf
Brien, D. & Haskins, L. (2020). Project management: Improving performance, reducing risk. Retrieved January 14, 2020, from https://www. pwc.com /jg/en/publications/ned-presentation-project-management.pdf.
Cronbach, L. J. . (1990). Essentials of psychological testing . (5th ed.). New York: Harper Collins. Publishers.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Likert, R. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale”. In Reading in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measuremen. New York: Wiley & Son.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.