การออกแบบเนื้อหาสำหรับสื่อปฏิสัมพันธ์เพื่อถ่ายทอด คลังปัญญาผู้สูงอายุ

ผู้แต่ง

  • นรรชนภ ทาสุวรรณ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • อติเทพ แจ้ดนาลาว มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การออกเเบบเนื้อหา, สื่อปฎิสัมพันธ์, การถ่ายทอด, คลังปัญญา, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แนวทางในการออกแบบเนื้อหาสำหรับสื่อปฏิสัมพันธ์เพื่อการถ่ายทอดคลังปัญญาผู้สูงอายุ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยใช้ กลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ 30 คน ซึ่งเป็นผู้เข้าชมนิทรรศการผลงานดุษฎีนิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Design & Diversity Progress of the Ph.D Exhibition 2020 ระหว่างวันที่ 4 - 8 มีนาคม 2563 ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน กรุงเทพมหานคร เครื่องมือวิจัยใช้การสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล เชิงคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ ด้านการจัดการความรู้ ด้านการพัฒนาระบบและด้านการถ่ายทอดภูมิปัญญาผู้สูงอายุ โดยการวิเคราะห์จากกระบวนทัศน์ของผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ทบทวนวรรณกรรมและงานวิชาที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ประเด็นร่วม สังเคราะห์ได้แนวความคิดในการออกแบบเนื้อหา ที่เรียกว่า S-CREATOR ทำให้เกิดคลังปัญญาทางศิลปกรรมที่หมุนเวียนเป็นระบบ โดยแบ่งเป็นระดับพื้นฐาน ประเภท สืบค้นได้ง่าย เริ่มจากการสะสมภูมิปัญญา การสร้างเนื้อหา สามารถสืบค้นได้ ภูมิปัญญาที่เกิดจากประสบการณ์ สามารถใช้ได้อย่างเท่าเทียม เข้าถึงได้อย่างเสรี การจัดการความรู้จะต้องมีการถ่ายทอด แบ่งปันและมีการใช้ซ้ำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและเก็บรักษาอย่างมีระบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ระดับความคิดเห็นการทดลองใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ฯ ด้านการเรียนรู้ ( gif.latex?\tilde{x} = 4.67, S.D. = .47) มีความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการแบ่งปันความรู้ ( gif.latex?\tilde{x} = 4.60, S.D. = .52) ด้านการใช้งาน ( gif.latex?\tilde{x} = 4.51, S.D. = .54) และด้านข้อมูล ( gif.latex?\tilde{x} = 4.39, S.D. = .55) ข้อเสนอแนะ คือ เห็นด้วยกับการสร้างเครือข่ายและการสร้างความรู้สึกมีคุณค่าให้แก่ผู้สูงอายุ ช่วยในการพัฒนาคลังปัญญาผู้สูงอายุ

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563). รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยศูนย์ ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค. เรียกใช้เมื่อ 23 กรกฎาคม 2564 จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/situation/ situation-no60-030363.pdf

กอบกุล กวั่งซ้วน. (2554). รูปแบบการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. ใน วารสารนิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาและความมั่นคง. (2552). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552. เรียกใช้เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2563 จาก https://www.dop.go.th/download/laws/law_th_ 20152309144546_1.pdf

จินต์ประวีร์ เจริญฉิม และสิริชัย ดีเลิศ. (2563). กระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุสู่ชุมชน และสังคมที่ยั่งยืน. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 33(2), 155-156.

ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ. (2560). การจัดการข้อมูลงานวิจัยในยุคดิจิทัล บทความเรียบเรียงจากการบรรยาย และเสวนาในงานประชุมวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์มานุษยวิทยาสิริธร.

ฐิติรัตน์ ศิริบวรรัตนกุล. (2560). ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้และการออกแบบเชิงปฏิสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธัญรดี ปัตตังเว และใจเพชร นิลสิงห์ขร. (2557). การศึกษาอิสระทางคอมพิวเตอร์อนุรักษ์แกงบอน อำเภอชัย บาดาล จังหวัดลพบุรี. เรียกใช้เมื่อ 21 กรกฎาคม 2564 จาก https://sites.google.com/site chaibadanbon/home/keiyw-kab-phumi payya

ปฏิบัติ ปรียาวงศากุล. (2554). การออกแบบเกมดิจิตอลเพื่อผู้สูงอายุ. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2557). รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2557. เรียกใช้เมื่อ 21 พฤศจิกายน 2563 จาก https://thaitgri.org/?p = 36746

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. เรียกใช้เมื่อ 21 กรกฎาคม 2564 จาก https://dictionary.orst.go.th/lookup_domain.php

วิชญ์พล เกตุชัยโกศล. (2558). การศึกษาขนาดของปุ่มที่เหมาะสมในโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับผู้สูงอายุ. ใน สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการ. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2545). จิตวิทยาพัฒนาการ ชีวิตช่วงวัย เล่ม 2 วัยรุ่น-วัยสูงอายุ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมปอง สุวรรณภูมา. (2560). ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 3(1), 111-124.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2550). แผนพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบ(พ.ศ. 2550-2554). เรียกใช้เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2563 จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid = 5747&filename = develop_issue

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2560). การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ. 2560-2564). เรียกใช้เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2563 จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link. php?nid = 6422

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2559). นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2560-2564). เรียกใช้เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2563 จาก https://op.mahidol.ac.th/ra/ contents/research_policy/NATIONAL-RESEARCH_POLICY-STRATEGY_25602564_DRAFT .pdf

เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2544). ภาพรวมภูมิปัญญาไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์.

Batu Salman, Y. et al. (2010). Senior-Friendly icon design for the mobile phone. Retrieved May 25, 2018, from https://ieeexplore.ieee.org/document/ 5568719

Donthula, S. (2016). Influence of Design Elements in Mobile Applications on User Experience of Elderly People. In Thesis of The degree of Master of Science in Computer Science. Blekinge Institute of Technology. Faculty of Computing.

Phiriyapokanon, T. (2011). Is a big button interface enough for elderly users? Towards user interface guidelines for elderly users. In Thesis of The degree of Master of Computer Engineer. Mälardalen University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03/30/2022

How to Cite

ทาสุวรรณ น. . ., & แจ้ดนาลาว อ. . . (2022). การออกแบบเนื้อหาสำหรับสื่อปฏิสัมพันธ์เพื่อถ่ายทอด คลังปัญญาผู้สูงอายุ. วารสารมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(3), 121–142. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/257598

ฉบับ

บท

บทความวิจัย