กลยุทธ์การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ จังหวัดตาก

ผู้แต่ง

  • ปราโมชย์ เลิศขามป้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

คำสำคัญ:

กลยุทธ์, การพัฒนา, เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหา และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ จังหวัดตาก และ 2) กำหนดและประเมินกลยุทธ์การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ จังหวัดตาก ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ได้แก่ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหา และปัจจัยดำเนินงาน ใช้แบบสอบถาม สนทนากลุ่ม กลุ่มตัวอย่างคือ 1) ระดับอำเภอ ได้แก่ ผอ.รพ., สธ., ผู้รับผิดชอบ และ 2) ระดับตำบล ได้แก่ ผอ.รพ.สต., กรรมการ, ผู้ปฏิบัติงาน, อบต. รวมทั้งสิ้น 370 คน 2) ศึกษากลยุทธ์ ใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือ เครือข่ายอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี และอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่  1) ผอ.รพ. 2) สธ.อ. 3) รพ. 4) สสอ. 5) อบต. และ 6) กรรมการ จำนวน 12 คน 3) กำหนดกลยุทธ์ ใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก โดยผู้เชี่ยวชาญสุขภาพ จำนวน 10 คน และ 4) ประเมินกลยุทธ์ ใช้แบบประเมินความพึงพอใจ กลุ่มตัวอย่างคือ ตำบลยกกระบัตร อำเภอสามเงา จำนวน 75 คน โดยเลือกสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงทั้งหมด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพดำเนินงานคือ 1.1) ทำงานร่วม 1.2) ภาวะผู้นำ 1.3) ส่วนร่วมสมาชิก 1.4) ทำงานเกิดคุณค่า 1.5) บริหารทรัพยากร 1.6) บริการสุขภาพ และ1.7) ส่วนร่วมชุมชน ปัญหาโดยรวมอยู่ระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{x}  = 2.86) ค่าเฉลี่ยมากคือ โครงสร้าง/บริหาร (gif.latex?\bar{x} = 3.55) รองลงมาคือ แบ่งปัน/พัฒนาบุคลากร (gif.latex?\bar{x}  = 2.73) และปัจจัยภายในคือ นโยบาย (gif.latex?\bar{x}  = 3.32) ภายนอกคือ เทคโนโลยี (gif.latex?\bar{x}  = 3.23) และ 2) กำหนดกลยุทธ์ ได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์คือ 2.1) พัฒนากลไกจัดการสุขภาพองค์รวม 2.2) ส่งเสริมนวัตกรรมดูแลสุขภาพโมเดล และ 2.3) พัฒนาศักยภาพเครือข่าย ผลประเมินเหมาะสม เป็นไปได้ค่า gif.latex?\bar{x} = 4.53 ซึ่ง gif.latex?\bar{x}>3.51 ขึ้นไปผ่านเกณฑ์

References

ชูชัย ศรชำนิ. (2564). แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการเสริมพลังงาน R2R ของ สปสช. เรียกใช้เมื่อ 26 มกราคม 2564 จาก http://r2rthailand.org/download/A..pdf

ตรัยมาส คงเรือง และคณะ. (2563). บทบาทในการร่วมขับเคลื่อนการจัดระบบสุขภาพระดับอำเภอของพยาบาลปฏิบัติการงานปฐมภูมิ โรงพยาบาลชุมชน เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 12. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 40(4), 74-84.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาการพิมพ์.

ยงยุทธ พงษ์สุภาพ. (2557). การจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ. นนทบุรี: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ.

วินัย ลีสมิทธิ์ และคณะ. (2554). การวิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการระบบสาธารณสุขในระดับพื้นที่ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. นนทบุรี: สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยเครือ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

สดใส ทองทิน. (2555). ยุทธศาสตร์การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพจิตชุมชนในเขตพื้นที่จังหวัดตาก. วารสารพยาบาล, 61(4), 20-26.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก. (2557). นโยบายเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ. ตาก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก. (2564). ผลการดำเนินงานสาธารณสุขจังหวัดตากตามแผนการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ จังหวัดตาก. ตาก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก.

สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2559). แนวทางการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัวสำหรับหน่วยบริการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สุชาต อุดมโสภกิจ และคณะ. (2557). ภาพอนาคตระบบสุขภาพ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. (2554). เส้นทางชีวิตและการเรียนรู้ เล่ม 3: วิถีแห่งการสร้างเสริมสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.

เสรี พงศ์พิศ. (2548). เครือข่าย: ยุทธวิธีเพื่อประชาคมเข้มข้นชุมชนเข้มแข็ง. กรุงเทพมหานคร: โครงการมหาวิทยาลัยชีวิตสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York: Harper Collins. Publishers.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Likert, Rensis. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. pp. 90-95). New York: Wiley & Son.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

12/30/2022

How to Cite

เลิศขามป้อม ป. . (2022). กลยุทธ์การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ จังหวัดตาก. วารสารมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(12), 1027–1045. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/263087

ฉบับ

บท

บทความวิจัย