วิธีระบุเงื่อนไขเกินของปัญหากำหนดการเชิงเส้น
Main Article Content
บทคัดย่อ
กำหนดการเชิงเส้นเป็นวิธีที่สำคัญวิธีหนึ่งในการสร้างตัวแบบเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด สำหรับการสร้างตัวแบบเชิงเส้นอาจมีเงื่อนไขบังคับที่เกินความจำเป็น ทำให้ใช้เวลาหาผลเฉลยเหมาะที่สุดมากขึ้นตาม เราจึงศึกษาและเปรียบเทียบวิธีระบุเงื่อนไขเกินทั้งหมด 3 วิธี เพื่อช่วยลดเวลาการคำนวณแต่ไม่ทำให้ผลเฉลยเหมาะที่สุดเปลี่ยนแปลง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา (JSSE) เป็นผู้ถือลิสิทธิ์บทความทุกบทความที่เผยแพร่ใน JSSE นี้ ทั้งนี้ ผู้เขียนจะต้องส่งแบบโอนลิขสิทธิ์บทความฉบับที่มีรายมือชื่อของผู้เขียนหลักหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจแทนผู้เขียนทุกนให้กับ JSSE ก่อนที่บทความจะมีการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของวารสาร
แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form)
ทางวารสาร JSSE ได้กำหนดให้มีการกรอกแบบโอนลิขสิทธิ์บทความให้ครบถ้วนและส่งมายังกองบรรณาธิการในข้อมูลเสริม (supplementary data) พร้อมกับนิพนธ์ต้นฉบับ (manuscript) ที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ ทั้งนี้ ผู้เขียนหลัก (corresponding authors) หรือผู้รับมอบอำนาจ (ในฐานะตัวแทนของผู้เขียนทุกคน) สามารถดำเนินการโอนลิขสิทธิ์บทความแทนผู้เขียนทั้งหมดได้ ซึ่งสามารถอัพโหลดไฟล์บทความต้นฉบับ (Manuscript) และไฟล์แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form) ในเมนู “Upload Submission” ดังนี้
1. อัพโหลดไฟล์บทความต้นฉบับ (Manuscript) ในเมนูย่อย Article Component > Article Text
2. อัพโหลดไฟล์แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form) ในเมนูย่อย Article Component > Other
ดาวน์โหลด ไฟล์แบบโอนลิขสิทธิ์บทความ (Copyright Transfer Form)
References
Brearley, A. L., Mitra, G., and Williams, H. P. (1975). Analysis of mathematical programming problems prior to applying the simplex algorithm. Mathematical Programming, 8(1), 54-83.
Caron, R. J., McDonald, J. F., and Ponic, C. M. (1989). A degenerate extreme point strategy for the classification of linear constraints as redundant or necessary. Journal of Optimization Theory and Applications, 62(2), 225-237.
Estiningsih, Y., Farikhin, and Tjahjana, R. H. (2019). Some methods for identifying redundant constraints in linear programming. Journal of Physics: Conference Series, 1321, 022073.
Ioslovich, I. (2001). Robust reduction of a class of large-scale linear programs. SIAM journal on Optimization, 12(1), 262-282.
Paulraj, S., Chellappan, C., and Natesan, T. R. (2006). A heuristic approach for identification of redundant constraints in linear programming models. International Journal of Computer and Mathematics, 83(8-9), 675-683.
Paulraj, S. and Sumathi, P. (2010). A Comparative Study of Redundant Constraints Identification Methods in Linear Programming Problems. Mathematical Problems in Engineering, 2010, 723402.
Paulraj, S. and Sumathi, P. (2012). A new approach for selecting a constraint in linear programming problems to identify the redundant constraints. International Journal of Scientific and Engineering Research, 3(8), 1345-1348.
Stojković, N. V. and Stanimirović, P. S. (2001). Two direct methods in linear programming. European Journal of Operation Research, 131(2), 417-439.
Telgen, J. (1979). On R. W. Llewellyn’s rules to identify redundant constraints: A detailed critique and some generalizations. Zeitschrift Für Operations Research, 23(5), 197–206.
Telgen, J. (1983). Identifying redundant constraints and implicit equalities in systems of linear constraints. Management Science, 29(10), 1209-1222.