รูปแบบการเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร
คำสำคัญ:
การพัฒนารูปแบบ, ผู้นำทางวิชาการ, ยุคดิจิทัลบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล 2) พัฒนารูปแบบการเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อการามต้องการจำเป้นสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปะถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา 3) ทดลองใช้พื่อนึกษาความต้องการ
๔บริหารสถานศึกษาและครูมีความพึงพอใจในระดบมากที่สุดรูปแบบการเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อการามต้องการจำเป้นสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปะถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา ดำเนินการ 3 ขั้นตอน กลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 64 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพที่เป็นและสภาพที่ควรจะเป็น แบบสอบถามการบริหารงานวิชาการ แบบวัดความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI )
ผลการวิจัยพบว่า 1. ความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลภาพรวมมีค่า PNI = 0.52 2. รูปแบบการเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อการามต้องการจำเป้นสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปะถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร ประกอบด้วย 2.1 หลักการร 2.2 วัตถุประสงค์ 2.3 สาระสำคัญ 6 ด้าน 2.4 วิธีดำเนินการ 4 ขั้นตอน 2.5 เงื่อนไขความสำเร็จ 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบพบว่า 3.1 สถานศึกษามีการบริหารงานวิชาการได้ในระดับมากที่สุด 3.2 ผู้บริหารสถานศึกษามีความพึงพอใจต่อรูปแบบในระดับมากที่สุด
References
กฤษฎา กุลวงษ์ ชาญวิทย์ หาญรินทร์และไพฑูรย์ พวงยอ. (2566). ปัจจัยภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1. วารสารรัชต์ภาคย์, 17(50), 200-217.
ฉลาด สาโยธา. (2565). การบริหารจัดการสถานศึกษาด้านการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1. ใน รายงานการวิจัย. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1.
นคร ตังคะพิภพและกล้า ทองขาว. (2558). “การบริหารจัดการการศึกษาเชิงพื้นที่” สารานุกรมการศึกษาร่วมสมัยเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสพระชมมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558”. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
ประวัติ สุทธิประภา. (2562). รูปแบบการบริหารสถานศึกษาในการเสริมสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนสารวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โรงเรียนสารวิทยา.
ปิยาลักษณ์ ทายิดาและเบญจวรรณ ศรีมารุต. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักการศึกษาเทศบาลเมืองชลบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 20(1), 83-95.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2565). ผลการประเมิน PISA 2022 : บทสรุปสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพมหานคร: สสวท.
สุวิมล ว่องวานิช.(2562). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2567). การติดตามและประเมินผลระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ใน รายงานวิจัย. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
อัมพิกา สิริพรม สืบสกุล นรินทรางกูร ณ อยุธยาและพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2564). ความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนตามแนวคิดสมรรถนะผู้เรียนที่ตอบสนองความต้องการจำเป็นของระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิรน, 18(1), 221-232.