ความสำคัญของการล่ามทางทหารและบทบาทของนายทหารล่ามที่มีต่อภารกิจของกองบัญชาการกองทัพไทย

Main Article Content

สาลินี มณีรัตน์

บทคัดย่อ

บทความที่นำเสนอนี้มีสาระสำคัญเกี่ยวกับประวัติการล่ามในประเทศไทยโดยสังเขปที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการล่ามทางทหารในปัจจุบัน บทบาทของล่ามในสังคมที่ใช้ภาษาในลักษณะต่างๆ บทบาทในมุมมองต่างๆ และมุมมองในบริบททางทหาร โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันภารกิจด้านการล่ามทางทหารสนับสนุนงานของกองทัพไทยและงานในขอบเขตความรับผิดชอบของกองบัญชาการกองทัพไทย นอกจากนี้ยังครอบคลุมบทบาท ความสำคัญและหน้าที่ของนายทหารล่าม ความจำเป็นของนายทหารล่ามที่มีต่อความสำเร็จของภารกิจทางทหาร และการสนับสนุนภารกิจของกองบัญชาการกองทัพไทยในภาพรวม แนวทางพัฒนาและรักษาสถานภาพของนายทหารล่าม ความเป็นไปได้ในการสร้างนายทหารล่ามรุ่นใหม่ที่มีประสิทธิภาพเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนนายทหารล่ามทั้งในปัจจุบันและอนาคต ปัจจัยที่สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้กับนายทหารล่ามหรือผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ล่ามทางทหาร คุณสมบัติอันพึงประสงค์ของนายทหารล่ามรวมถึงกิจกรรมการฝึกอบรมเพื่อพัฒนากำลังพลด้านการล่ามของกองบัญชาการกองทัพไทย

Article Details

บท
บทความ

References

กองบัญชาการกองทัพไทย, กรมข่าวทหาร. (2553). 50 ปีกรมข่าวทหาร กองทัพไทย ก้าวต่อไป......สู่ปีที่ 2020, กรุงเทพมหานคร: กรมข่าวทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย.
กองบัญชาการกองทัพไทย. (2553). กองทัพไทย (Royal Thai Armed Forces). กรุงเทพมหานคร: กองบัญชาการกองทัพไทย.
กองบัญชาการทหารสูงสุด, กรมยุทธศึกษาทหาร. (2547). พจนานุกรมศัพท์ทหาร อังกฤษ-ไทย ฉบับใช้ร่วมสามเหล่าทัพ. กรุงเทพมหานคร: กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด.
กาญจนา นาคสกุล. ภาษากลาง ภาษาชาติ ภาษามาตรฐาน ภาษาถิ่น. นิตยสารสกุลไทย.สืบค้นจาก http://www.payathai.org.th/wiki/index.php
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ. (2539). นิราศเมืองลอนดอน ของหม่อมราโชทัย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันภาษาไทย.สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki
ทหารไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1. สืบค้นจาก http://topicstock.pantip.com/ library/topicstock/2007/06/K5541885/K5541885.html
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). วิธีการสร้างสถิติสำหรับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สุวีริยาศาส์น.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน
ศูนย์การแปลและการล่ามเฉลิมพระเกียรติ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นจาก http://www.arts.chula.ac.th/~tran/main/content.php?categoryname=special
สาลินี มณีรัตน์. (2553). บทบาทนายทหารล่ามและความจำเป็นในการพัฒนาล่ามทางทหารสำหรับกองบัญชาการกองทัพไทย. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การแปลและการล่ามเฉลิมพระเกียรติ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สาลินี มณีรัตน์. (2557). เอกสารประกอบการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะล่าม กองบัญชาการกองทัพไทย ปีงบประมาณ 2557. กองการภาษาต่างประเทศ กรมข่าวทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย.
สาลินี มณีรัตน์. (2558). คุณสมบัติอันพึงประสงค์ของนายทหารล่าม. พาวเวอร์พ้อยต์ประกอบการบรรยายเรื่องการล่ามทางทหาร.
Anderson, R.B.W. (1976). Perspectives on the role of interpreter. In F. Pochhacker, and M. Shlesinger, (ed.), The Interpreting Studies Reader, pp. 208-215 New York: Routledge. Laster, K. and Talor, V. 1994. Interpreter and legal system. Leichhardt, NSW: The Federation Press.
Pochhacker, F. (2004). Introducing Interpreting Studies. New York: Routledge. Roy, C. 1993/2002. The problem with definitions, descriptions and the role metaphors of interpreters. In F. Pochhacker, and M. Shlesinger, (eds.), The Interpreting Studies Reader, pp334-353. New York: Routledge.
Simmel, G. (1976). The Triad. In K. Wolff, trans. and ed. The sociology of George Simmel. New York: The Free Press.
Surintatip, D. Interpretation in Thailand - Past and Present. On AIIC website in May 2007. Available from http://www.linkedin.com/profile/
Surintatip, D. (2005). Desirable characteristics of an interpreter, power point presentation on How crucial are interpreters? [PowerPoint Slides]
Wilss, W. (1999). Translation and interpretation in the 20th century: focus on German. Philadelphia: Amsterdam.