A Comparative Study of Language Use between Literature Novel and Television Drama: A Case Study of Phu Di Isan

Authors

  • พันตำรวจโทหญิง สุวัฒนา ลำใย
  • บุปผา บุญทิพย์
  • อดุลย์ ตะพัง

Keywords:

การใช้ภาษา นวนิยาย บทละครโทรทัศน์ ผู้ดีอีสาน

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการใช้คำ โวหาร ภาพพจน์ในหนังสือนวนิยาย กับบทละครโทรทัศน์ เรื่อง ผู้ดีอีสาน ของ วรางคณา ที่แพร่ภาพออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ ผลการวิจัยพบว่า ในนวนิยายมีการใช้คำแสดงอารมณ์ความรู้สึก อาการเคลื่อนไหว การสัมผัส รส กลิ่น แสง สี  โวหาร 5 ประเภท ได้แก่ บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร เทศนาโวหาร สาธกโวหาร ภาพพจน์ 5 ชนิด ได้แก่ อุปมา อุปลักษณ์ บุคลาธิษฐาน อติพจน์ นามนัย และมีข้อแตกต่างกับบทละครโทรทัศน์ คือ การใช้คำขยาย กลิ่น แสง และสี วัตถุบอกสี คำขยายบอกสี  คำบอกสีโดยการซ้ำคำ  พรรณนาโวหาร และนามนัย ไม่ปรากฏในบทละครโทรทัศน์   ส่วนใหญ่ลักษณะการใช้คำ โวหาร ภาพพจน์ที่ปรากฏในหนังสือนวนิยายและบทละครโทรทัศน์เหมือนกัน  สิ่งที่ทำให้แตกต่างกัน ได้แก่ บทละครโทรทัศน์มีการเพิ่มเติมหรือตัดทอนเนื้อหาบางส่วน และมีการใช้เทคนิคของการใช้ภาพหรือสิ่งที่ปรากฏแก่สายตาผู้ชม

References

Duangpatra, Chakrit. (2554). Performance Literature: Transformed Literature. Khon Kaen : The Office of Arts and Culture, Khon Kaen University
Lertjanyarak, Oranuch. (2556). Principle of TV Script-Writing. Bangkok: Thammasat University Press.
Samitsuwan, Uang-Arun. (2535). An Analysis of the Script Writing of the TV drama “Prisana”. Master of Communication Arts thesis, Chulalongkorn University.
Singlampong, Ong-Ard. (2557). The Production Process of TV Dramas. Bangkok: Samlada.

Downloads

Published

2019-12-12

How to Cite

ลำใย พ. ส., บุญทิพย์ บ., & ตะพัง อ. (2019). A Comparative Study of Language Use between Literature Novel and Television Drama: A Case Study of Phu Di Isan. KASEM BUNDIT JOURNAL, 20(2), 1–14. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/124758

Issue

Section

Research articles