ข้อตกลง
1. บทความทุกบทความจะได้รับการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer review) ที่ตรงตามสาขาวิชา โดยทุกบทความจะต้องผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ อย่างน้อยบทความละ 3 ท่าน
2. บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางใด ๆ ที่ตีพิมพ์ในวารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป และไม่ใช่ความรับผิดชอบของ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว
3. บทความจะต้องไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ที่ใดมาก่อน และไม่อยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารฉบับอื่น หากตรวจสอบพบว่ามีการตีพิมพ์ซ้ำซ้อน ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว
4. บทความที่ส่งถึงกองบรรณาธิการ ขอสงวนสิทธิ์จะไม่ส่งคืน
เขตแดน พรมแดน และมรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน: จากอียูถึงปราสาทพระวิหารและอาเซียน
Abstract
บทความชิ้นนี้เสนอว่า ประสบการณ์เกี่ยวกับเขตแดน พรมแดนและ มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนจากสหภาพยุโรป อาจเป็นข้อคิดที่ช่วยให้ประเทศไทย กัมพูชา และอาเซียนนำมาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัมพูชาและไทยกรณีพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารที่เกิดตั้งแต่ประมาณปีค.ศ. 2008 จนกลายเป็นประเด็นสำคัญทางการเมืองระดับภูมิภาคที่มีความสำคัญต่อทิศทางการพัฒนาประชาคมอาเซียน
Border, Frontier and Trans-Boundary Heritage: Lessons from the EU for the Case of Preah Vihear and ASEAN
This article points out that the Thai-Cambodian conflict over territory near Preah Vihear Temple is critical to the peace in Southeast Asia as well as to the prospects of ASEAN Community. It suggests that Thailand, Cambodia and ASEAN may find a peaceful solution to the conflict by examining the European Union's record of dealing with border, frontier and trans-boundary cultural heritage.