การศึกษาภาษาศาสตร์แขนงจ้วง-ไต ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

Authors

  • Metcha Sodsongkrit

Keywords:

ภาษาไท, ภาษาไทในประเทศจีน, ปู้อี, ไต, จ้วง, Tai language, Tai language in China, Buyi, Dai, Zhuang

Abstract

 

บทคัดย่อ

          วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือ เพื่อศึกษาภาษาศาสตร์แขนงจ้วง - ไต ในประเทศจีน 3 ภาษา ได้แก่ ภาษาปู้อี ภาษาไต และภาษาจ้วง วิธีวิจัยเป็นการวิจัยเอกสารโดยมุ่งสังเคราะห์เอกสารภาษาจีนของนักวิชาการจีน แล้วนำเสนอข้อมูลเชิงชาติพันธุ์วรรณนา และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางภาษาศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า นักวิชาการจีนยังคงยึดถือการจัดภาษาปู้อี ไต และจ้วงไว้ในตระกูลภาษาจีน - ทิเบต เนื่องจากมีร่องรอยคำศัพท์ที่สามารถสืบสาวไปถึงภาษาจีนโบราณที่เรียกว่า “คำศัพท์ร่วมโบราณ”  และยังพบคำศัพท์ที่ไม่ร่วมเผ่าพันธุ์กับภาษาไทย แต่สามารถหาคำศัพท์ร่วมในภาษาจีนได้ คำศัพท์เหล่านี้มีทั้งที่เป็นคำศัพท์ร่วมโบราณและคำยืมเก่า นอกจากนี้ยังมีคำศัพท์และรูปแบบไวยากรณ์บางอย่างยืมมาจากภาษาจีนด้วย จากการวิเคราะห์ระบบเสียง ระบบคำและระบบไวยากรณ์เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างกันก็พบว่าภาษาทั้งสามมีความสัมพันธ์กันใกล้ชิด โดยที่ภาษาปู้อีใกล้ชิดกับภาษาจ้วงมากกว่าภาษาไต   

  

Abstract

The objective of the stydy is to study the Linguistics of Zhuang - Dai language sub-Branch in China which consists of Buyi, Dai and Zhuang languages. The methodology is to synthesize the research document from Chinese scholars, present ethnology information, and analyses linguistics. There are two main point found in the research. According to the Tai – Chinese ancient words or the vestige that can be reconstruct to Chinese ancient words, Chinese scholars have still divided Buyi Dai and Zhuang languages into Sino-Tibetan. In addition, there are many Tai-Chinese related words, but they are not related to Thai. Moreover, there are many of grammatical words and syntax that are borrowed from Chinese. According to the analysis of the relation of phonology, word system and syntax, it is found that three languages are closely relate, but Buyi is more closely to Zhuang than Dai.                                      

                       

Downloads

Published

2017-06-22

Issue

Section

บทความวิจัย (Research Article)