อัตลักษณ์ทางเพศในนวนิยายสะท้อนสังคมเพศที่สามพ.ศ.2516-2557 : The Sexual Idenity for (LGBT – Themed Novels) in Thailand B.E.2516-2557

Authors

  • bongkotchakon thongsuk

Keywords:

SEXUAL IDENITY, LGBT – THEMED NOVELS

Abstract

บทคัดย่อ
     บทความวิจัยนี้สรุปผลมาจากรายงานวิจัยโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาอัตลักษณ์ทางเพศของตัวละครเอกในนวนิยายสะท้อนสังคมเพศที่สาม ปีพ.ศ. 2516-2557 จากรูปเล่มและจากเว็บไซด์ โดยแบ่งนวนิยายสะท้อนสังคม เพศที่สามเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงเริ่มต้นเปิดเผยตนเอง พ.ศ.2516-2532 และช่วงเปิดเผยตนเอง พ.ศ.2533-2557 พัฒนาการอัตลักษณ์ทางเพศในนวนิยายสะท้อนสังคมเพศที่สาม พบอัตลักษณ์ทางเพศ 2 กลุ่ม คือเพศที่สามมองตนเองและคนอื่น มองเพศที่สามซึ่งปรากฏทั้งด้านบวกและด้านลบ ดังนี้ อัตลักษณ์ ทางเพศที่เกิดจากกลุ่มเพศที่สามของตนเอง ด้านบวก ได้แก่ ความภาคภูมิ ใจ ในเพศของตนเองและความยึดมั่น ต่อความรัก ด้านลบได้แก่ ความผิดแผกจากคนทั่วไปในสังคมและความมากรัก อัตลักษณ์ทาง เพศที่เกิดจากกลุ่มคนอื่นมองเพศที่สาม ด้านบวก ได้แก่ ความมีศักยภาพโดดเด่นกว่าเพศปกติ ใน การทำงานและเป็นคนทั่วไปในสังคม ด้านลบได้แก่ การปิดกั้นทางครอบครัวต่อการไม่ ยอมรับในพฤติกรรมทางเพศของลูก ความผิดแผกจากคนทั่วไปในสังคมและสังคมตีตราเพศ ที่สามเป็นสาเหตุแพร่เชื้อเอดส์ อีกทั้งพบว่า อัตลักษณ์ของเพศที่สามในนวนิยายสะท้อนสังคม เพศที่สามในช่วงเปิดเผยตนเองนั้นจะปรากฏเรื่องราวของเพศที่สามผ่านโลกอินเทอร์เน็ตเพื่อ แสดงออกถึงตัวตนและความรู้สึกนึกคิดให้แก่คนในสังคมได้รับรู้และเข้าใจตนเอง

Abstract

    This research mainly aimed to study the evolution of the LGBT-themed novels which reflected the transexual’s society through the proposition strategy and sexual identity of the main characters in the LGBT-themed novels during B.E. 2516-2557 both in-print and online versions. Hereby, the LGBT-themed novels were divided into two parts: one was the onset of make themselves known as LGBT during B.E. 2516-2532 and the other was the actual disclosure of LGBT states during B.E. 2533-2557.
    From the sexual identity evolution in the LGBT-themed novels, it found two groups: transsexual whoobserve themselves and others who observe transsexual, and there were both positive and negative results as follows.
    The sexual identity of transsexual for themselves was both positively and negatively mentioned: the self-pride and love adherence opposite to the abnormality in society and polygamy. In others’ view, the sexual identity of transsexual in the positive side was being remarkably potential in working and being a normal person in the society. On the other hand, the native view was that they were not accepted in their families as they were different from other people in the society and they were stigmatized as AIDStransmitter.
     Furthermore, the sexual identity of transsexual in the onset of the LGBT-themed novels emerged through the Internet version for releasing the inner personality and feeling to be known and comprehensible among people in the society.

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Published

2017-11-27

Issue

Section

บทความวิจัย (Research Article)