การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา: การวิจัยทางมานุษยวิทยาที่มากกว่าการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ Ethnographic Research: The Anthropological investigation that is more than the study of ethnic groups

Authors

  • Jariya Koment School of administrative studies, Maejo university, Chiang Mai
  • Chalermchai Panyadee School of administrative studies, Maejo university, Chiang Mai
  • Parnprae Chaoprayoon School of tourism development

Keywords:

ชาติพันธุ์วรรณนา, วัฒนธรรม, การสังเกตแบบมีส่วนร่วม, Ethnography, Culture, Participatory observation

Abstract

การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnographic research) เป็นการวิจัยทางมานุษยวิทยาที่ได้รับอิทธิพลจากกระบวนทัศน์ปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology paradigm) มีพัฒนาการเริ่มต้นมาจากการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ และกลุ่มชนบางกลุ่มในสังคม จนพัฒนามาสู่การมุ่งทำความเข้าใจปัญหาเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งมากขึ้น แต่ยังคงอยู่บนพื้นฐานการใช้ประโยชน์จากมโนทัศน์ทางวัฒนธรรมเพื่อใช้ในการอธิบายและตีความผลการศึกษา ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วมเป็นวิธีการหลักในการเก็บข้อมูล และให้ความสำคัญอย่างมากกับปัจจัยเชิงบริบท เพื่อทำความเข้าใจปัญหาที่ศึกษาอย่างเป็นองค์รวม และในปัจจุบันวิธีการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนานี้ได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้ในหลากหลายสาขาวิชามากขึ้น

 

 An ethnographic research is an anthropological investigation which is influenced by the phenomenology paradigm. It starts from a study of an ethnic group or a social group and is developed to understanding a particular problem more. Nevertheless, it is still based on an exploitation of a cultural concept in an attempt to explain and interpret the study findings, which is the crucial element of the ethnographic research. In collecting the data, the participatory observation is mainly used and the focus is on contextual factors in order to holistically understand problems under investigation. Nowadays, the ethnographic research methodology is increasingly applied to other fields.

Downloads

Download data is not yet available.

References

ขนิษฐา นันทบุตร และคณะ. 2556. คู่มือการพัฒนาทักษะการวิจัยชุมชนด้วยการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนาแบบเร่งด่วน (Rapid Ethnographic Community Assessment Process: RECAP). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

งามพิศ สัตย์สงวน. 2547. งานวิจัยเชิงคุณภาพทางมานุษยวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เฉลิมศักดิ์ ขัตติยะ. 2541. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมอันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตด้านการเกษตรของชุมชนกะเหรี่ยง. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชยันต์ วรรธนะภูติ. 2544. การวิจัยทางมานุษยวิทยา: ทัศนะทางทฤษฎี วิธีการวิจัยและการสะท้อนความจริง. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย. 14(3), 231-257.

ชาย โพธิสิตา. 2548. การวิจัยเชิงคุณภาพ: ข้อพิจารณาทางทฤษฎี. ตำราประกอบการสอนและการวิจัยการศึกษาเชิงคุณภาพ เทคนิคการวิจัยภาคสนาม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร. โครงการเผยแพร่ข่าวสารและการศึกษาด้านประชากร สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ชาย โพธิสิตา. 2559. ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งฯ.

นิศา ชูโต. 2551. การวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัท พริ้นต์โพร จำกัด.

บุญเลิศ วิเศษปรีชา. 2552. โลกของคนไร้บ้าน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

ปานแพร เชาวน์ประยูร. 2550. บทบาทของพุทธศาสนาต่อกระบวนการผลิตซ้ำทางอัตลักษณ์ของชาวไทใหญ่ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2558. ชีวิต อำนาจ ชาติพันธุ์. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ศุภกิจ วงศ์วิวัฒนนุกิจ. 2541. พจนานุกรมศัพท์การวิจัยและสถิติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภางค์ จันทวานิช. 2557. วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 22. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อลิศรา ศิริศรี. 2541. การนำวิธีวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนามาใช้ในการวิจัยทางการศึกษา. รวมบทความทางวิธีวิทยาการวิจัย เล่ม 1 ชุดรวมบทความเล่มที่ 16 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 249-257.

Fetterman, 1998. Ethnography, 2nd ed., Thousand Oaks, CA: Sage Publications.

Harris, M. & Johnson, O. 2000. Cultural Anthropology, (5th ed.), Needham Heights, MA: Allyn and Bacon.

Tony L. Whitehead. 2015. Basic Classical Ethnographic Research Methods. USA: University of Maryland.

Van Maanen, J. 1996. Ethnography. In: A. Kuper and J. Kuper (eds.) The Social Science Encyclopedia, 2nd ed., pages 263-265. London: Routledge.

Downloads

Published

2017-11-28

Issue

Section

บทความวิชาการ (Academic Article)