ข้อตกลง
1. บทความทุกบทความจะได้รับการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer review) ที่ตรงตามสาขาวิชา โดยทุกบทความจะต้องผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ อย่างน้อยบทความละ 3 ท่าน
2. บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางใด ๆ ที่ตีพิมพ์ในวารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป และไม่ใช่ความรับผิดชอบของ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว
3. บทความจะต้องไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ที่ใดมาก่อน และไม่อยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารฉบับอื่น หากตรวจสอบพบว่ามีการตีพิมพ์ซ้ำซ้อน ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว
4. บทความที่ส่งถึงกองบรรณาธิการ ขอสงวนสิทธิ์จะไม่ส่งคืน
การประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 ของบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการ องค์การบริหารส่วนตำบล ในอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก The Application of Iddhipath 4 for the men in management of Sub-Distric Administrative Organization Watbost District, Phitsanulok Province
Keywords:
การประยุกต์ใช้, หลักอิทธิบาท ๔, การบริหารจัดการ, Application, Iddhipath 4, ManagementAbstract
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการของ อบต.ในอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบทัศนะของบุคลากรต่อการประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 เพื่อการบริหารจัดการ อบต. ในอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 ของบุคลากรไปใช้เพื่อการพัฒนาการบริหารจัดการ อบต. ในอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
จากวิจัยพบว่า การประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 ของบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการ อบต.ในอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายละเอียดในแต่ละด้าน คือ ด้านฉันทะ วิริยะ จิตตะ และวิมังสา พบว่า การประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 ของบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการ อบต.ในอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก อยู่ในระดับมากทุกด้าน
ผลการเปรียบเทียบ การประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 เพื่อการบริหารจัดการ อบต. ในอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก โดยจำแนกตามข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า บุคลากรที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง และรายได้ต่อเดือน โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้น จึงปฏิเสธสมมติฐานการวิจัย
Abstract
The main objectives of this research are 1) To study the state of the Sub-District Administrative Organization Watbost District, Phitsanulok Province. 2) To compare the views of the personnel on the application of Iddhipath 4 to management Sub-District Administrative Organization Watbost District, Phitsanulok Province by personal factors. 3) To study the application of the influence of Iddhipath 4 of the personnel for Used for management development Sub-District Administrative Organization Watbost District, Phitsanulok Province. The research is Quantitative Research. The samples used in the study is the personnel Performance of Sub-District Administrative Organization Watbost District, Phitsanulok Province.
The research results revealed that ; The application of the influence of Iddhipath 4 of the personnel for used for management development Sub-District Administrative Organization Watbost District, Phitsanulok overall high level. When considering the details of each side. Side Chanda Viriya Citta and Vimamsa found the application of the influence of Iddhipath 4 of the personnel for Used
for management development Sub-District Administrative Organization Watbost District, Phitsanulok In all aspects.
The results compare the personnel for used for management develop-ment Sub-District Administrative Organization Watbost District, Phitsanulok Province by data showed that personal factors. People with gender, age, education, location. and monthly income . Overview no different statistically significant at the 0.05 level. Therefore, the research hypothesis.
References
พระครูสิริรัตนานุวัตร, รศ. ดร.,พระครูพิพิธจารุธรรม,ดร.