The Integration of 4MAT Approach with ASEAN Social and Cultural Links: the Development of an Instructional Model to Enhance Youth’s Intercultural Communicative Competence and Attitudes

Main Article Content

Kanlaya - Promwatcharanon

Abstract

Abstract


The process of quality enhancement is essential to improving young learners’ learning outcomes. The 4MAT approach, a multifunctional instructional method integrated with ASEAN Social and Cultural Links (ASCL) may serve as a framework for quality enhancement in order to provide a structure for this process. The paper describes the quality enhancement strategy for youth learning based on a 4MAT-integrated approach with ASCL that is used for a variety of purposes. It describes various applications in education, for knowledge creation, and for the purpose of preservation and sharing, which are effective means for knowledge formation through a secure informal presentation of knowledge with groups, as well as cultural appreciation and knowledge retention. The main purposes of this research is to develop, implement and evaluate an instructional model based on the 4MAT approach to enhance intercultural communicative competence (ICC) and their attitudes towards intercultural communicative language teaching (ICLT) in 120 young learners from 20 communities in Nakornping Sub-District, Chiang Mai, Thailand.


The data was analysed using “Efficiency and Effectiveness” scores, descriptive statistics, and content analysis. The results revealed that the 8 step model of the 4MAT approach integrated with ASCL may enhance English learning skills and intercultural communicative competence. The outcome of this instructional model, “A 4MAT-integrated Approach with ASEAN Social and Culture Links”, was higher than expected, with the highest level of applicability (E1 / E2 at 90.67/81.63 (80/80) and E.I at 0.6488 or 64.88%). The youth’s post-learning achievement scores of ASEAN studies in English was greater than pre-learning achievement, while their achievement in English was at an exemplary level (81.42% with the Standard Deviation of 0.01). The young learners’ attitudes towards ICLT were positive, and their ICC had significantly improved. This study sheds
light on the implementation of ICLT in an English as a foreign language (EFL) context of Thai and other similar contexts.


บทคัดย่อ


กระบวนการของการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ คือสิ่งสำคัญในการพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชน วิธีสอนแบบโฟร์แม็ท ซึ่งถือเป็นกระบวนการสอนที่มีประโยชน์อย่างยิ่งในการเรียนรู้จึงถูกนำมาบรูณาการเข้ากับการเชื่อมโยงสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อสร้างโครงร่างของการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ ทั้งนี้ กลยุทธ์ในการพัฒนาเยาวชนบนฐานการใช้วิธีสอนแบบโฟรแม็ทบูรณาการกับการเชื่อมโยงสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ได้ถูกนำมาใช้ด้วยหลากหลายวัตถุประสงค์ทางการศึกษา อาทิ เพื่อการสร้างความรู้ การได้มาซึ่งความรู้และแบ่งปันความรู้ประสบการณ์ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นวิธีการที่มีประสิท ธิภาพในการสร้างองค์ความรู้ที่ได้จากการนำเสนอความรู้อย่างมีความสุขอย่างไม่เป็นทางการด้วยกิจกรรมกลุ่ม รวมถึงเป็นวิธีการในการชื่นชมสุนทรียภาพทางภาษาและความคงทนขององค์ความรู้ในตัวผู้เรียนเอง วัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยในครั้งนี้ คือ พัฒนา นำไปใช้และวัดผล รูปแบบการสอนบนฐานของการสอนแบบโฟร์แม็ท เพื่อเพิ่มพูนทักษะและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถด้านการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมรวมถึงทัศนคติที่มีต่อการสอนการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมของเยาวชน จำนวน 120 คน จาก 20 ชุมชนในแขวงนครพิงค์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยการหาค่าประสิทธิภาพกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพผลลัพธ์ (E2) รวมถึงดัชนีประสิทธิผล (E.I) ของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชื่อมโยงสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนด้วยการสอนแบบโฟรแม็ท รวมทั้งการใช้ค่าสถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิเคราะห์พบว่า 8 ขั้นตอนของการสอนแบบโฟร์แม็ทสามารถเพิ่มพูนทักษะและประสิทธิภาพทางการเรียนภาษาอังกฤษและความสามารถด้านการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเพื่อเชื่อมโยงสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนด้วยค่า E1/ E2 (90.67/81.63) ซึ่งสูงกว่าที่ตั้งไว้ที่ (80/80) และ ค่า E.I ( 0.6488 / 64.88 %) โดยคะแนนสอบหลังการเรียนของเยาวชนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ที่ 0.01 ด้วยคะแนนค่าเฉลี่ยร้อยละที่ 81.42% ทัศนะคติของเยาวชนที่มีต่อผลการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมพบว่าผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติไปในทางบวกและมีการพัฒนาของความสามารถด้านการสื่อสารระหว่างประเทศทั้งด้านภาษาและด้านความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ทั้งนี้จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลของการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ในเรื่องการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมสำหรับผู้เรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ที่มีบริบทใกล้เคียงกัน

Article Details

How to Cite
Promwatcharanon, K. .-. (2017). The Integration of 4MAT Approach with ASEAN Social and Cultural Links: the Development of an Instructional Model to Enhance Youth’s Intercultural Communicative Competence and Attitudes. Journal of Studies in the English Language, 12(1), 38–69. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsel/article/view/87623
Section
Articles
Author Biography

Kanlaya - Promwatcharanon, Chiang Mai Rajabhat University

English Department, Western of Languages, Faculty of Humanities and Social Studies