Katherine Mansfield’s Experiment with the Multi-personal Point of View as a Method of Characterization in “Prelude” and “At the Bay”

Main Article Content

Phanida Simaporn

Abstract

Abstract


This research article focuses on Katherine Mansfield’s experiment with the multi-personal point of view as a method of characterization. For the earlier literary critics, Katherine Mansfield was considered a minor author. However, her reputation has risen and she has been reconsidered as a very influential Modernist author. One reason that contributes to her reputation is her narrative technique. The aim of this study is to depict her experiment with the multi-personal point of view that she used in her two most exceptional New Zealand stories, “Prelude” and “At the Bay”. In using such a technique, Mansfield had the focalization shift from one character to another and this allows the characters to give their perspectives. Consequently, Mansfield could
successfully reveal what their thoughts, conflicts, attitudes, personality and secret self are and what impact they have on each other and on the reader as well. Given that the plot line in her stories does not rise much, the multi-personal point of view allows the reader to gain insight into the psychological state of her characters and to grasp the essence of life Mansfield wants to express to her reader.


บทคัดย่อ


บทความวิจัยชิ้นนี้ศึกษาการใช้มุมมองหรือกลวิธี รูปแบบใหม่ในการเล่าเรื่องของ แคทเธอรีน แมนส์ฟิลด์ ที่เรียกว่า มัลติเพอร์ซันนัล (multi-personal point of view) เพื่อสะท้อนลักษณะนิสัยของตัวละคร นักวิจารณ์วรรณกรรมสมัยก่อนมีความเห็นว่า
แคทเธอรีน แมนส์ฟิลด์ เป็นนักเขียนที่ไม่มีความโดดเด่นมากนัก แต่ในเวลาต่อมานักเขียนผู้นี้เริ่มมีชื่อเสียงมากยิ่งขึ้น และได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเขียนสมัยใหม่ (Modernist author) ที่มีอิทธิพลต่อวงการวรรณกรรมโดยเฉพาะเรื่องสั้นเป็นอย่างมาก สาเหตุสำคัญประการหนึ่งที่สร้างชื่อเสียงให้ แคทเธอรีน แมนส์ฟิลด์ คือ เทคนิคการเล่าเรื่อง บทความวิจัยชิ้นนี้มุ่งนำเสนอการใช้มุมมองในการเล่าเริ่องที่เรียกว่า มัลติเพอร์ซันนัลมาเป็นกลวิธีในการถ่ายทอดลักษณะนิสัยของตัวละครในเรื่องสั้น เพรลูด (“Prelude”) และแอทเดอะเบย์ (“At the Bay”) แคทเธอรีน แมนส์ฟิลด์ เล่าเรื่องโดยสลับจุดเน้นร่วมไปมาระหว่างตัวละครเพื่อเปิดโอกาสให้ตัวละครสะท้อนทัศนคติหรือความคิดของตัวละครนั้นๆ หรือทัศนคติหรือความคิดที่ตัวละครนั้นๆ มีต่อตัวละครอื่น และด้วยกลวิธีการเล่าเรื่องดังกล่าวนี้แคทเธอรีน แมนส์ฟิลด์ จึงสามารถสะท้อนความคิด ความขัดแย้ง ทัศนคติ บุคลิกลักษณะและความลับที่่ซ่อนอยู่ภายในตัวละครได้อย่างลึกซึ้ง ตลอดจนสามารถสะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบที่ตัวละครมีต่อกัน และต่อผู้อ่านด้วย ในเรื่องสั้นของ แคทเธอรีน แมนส์ฟิลด์ เส้นที่แสดงเรื่องหรือแนวเรื่องตั้งแต่จุดเริ่มต้น จุดกึ่งกลาง และจุดจบจะไม่สมบูรณ์เหมือนในโครงเรื่องของเรื่องสั้นยุคก่อนแต่ แคทเธอรีน แมนส์ฟิลด์ ใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบมัลติเพอร์ซันนัล เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าถึงสภาวะภายในจิตใจของตัวละครและแก่นแท้ของชีวิตได้อย่างมีประสิทธิผลยิ่ง

Article Details

How to Cite
Simaporn, P. (2017). Katherine Mansfield’s Experiment with the Multi-personal Point of View as a Method of Characterization in “Prelude” and “At the Bay”. Journal of Studies in the English Language, 12(1), 110–142. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsel/article/view/87744
Section
Articles