ตื่นมาไม่โดนแบนก็ดีแค่ไหนแล้ว: ความไม่แน่นอนและตัวตนแบบผู้ประกอบการ ของแรงงานรับ-ส่งอาหารให้กับบริษัทแพลตฟอร์ม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยชิ้นนี้ต้องการศึกษาความไม่แน่นอนที่แรงงานรับ-ส่งอาหารให้กับบริษัทแพลตฟอร์ม (ไรเดอร์) ต้องเผชิญอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน เนื่องจากกระบวนการทำงานและเทคโนโลยีที่ถูกออกแบบมาเพื่อควบคุมแรงงานคือแหล่งที่มาของความไม่แน่นอนเสียเอง นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่น ๆ เช่นร้านอาหารหรือลูกค้า ที่เพิ่มความไม่แน่นอนในการทำงานให้กับพวกเขา เพราะอำนาจต่อรองที่ไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้นกลุ่มไรเดอร์จำเป็นที่ต้องสร้างหรือรับเอาตัวตนแบบผู้ประกอบการเข้ามาเพื่อรับมือกับความไม่แน่นอนและทำให้การทำงานราบรื่นยิ่งขึ้น ได้แก่ การมองตนเองเป็นหน่วยธุรกิจ การกล้าเสี่ยง การคำนวณอรรถประโยชน์สูงสุด และความคิดสร้างสรรค์ อย่างไรก็ตาม แรงงานงานที่เป็นไรเดอร์ก็มีความย้อนแย้งทางตัวตนสูงเนื่องจากสภาพการทำงานที่ไม่เป็นธรรมของพวกเขาก็ทำให้รู้สึกว่าตนเองโดนเอารัดเอาเปรียบ จนนำไปสู่การเรียกร้องความเป็นธรรมหลายต่อหลายครั้งเพื่อได้รับความคุ้มครองทางสังคม แต่ขณะเดียวกันพวกเขาก็ไม่อยากสูญเสียความเป็นอิสระในการทำงานให้กับแพลตฟอร์ม แม้ว่าจะต้องเผชิญกับความไม่มั่นคงก็ตาม
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อเขียนทั้งหมดทีปรากฏในวารสารสังคมศาสตร์ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนโดยเฉพาะ มิใช่ทัศนคติของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หรือกองบรรณาธิการวารสารสังคมศาสตร์
References
Arias, Cora, Nicolás Diana Menéndez, and Julieta Haidar. 2021. “Collective Organization in Platform Companies in Argentina: Between Trade Union Traditions and Adaptive Strategies.” In Work and Labour Relations in Global Platform Capitalism, edited by Julieta Haidar and Maarten Keune, 185-205. Cheltenham: Edward Elgar Publishing.
Beck, Ulrich. 2009. “World Risk Society and Manufactured Uncertainties.” Iris: European Journal of Philosophy & Public Debate 1(2): 291–99.
Beck, Ulrich, Anthony Giddens, and Scott Lash. 1994. Reflexive Modernization: Politics, Tradition and Aesthetics in the Modern Social Order. Stanford: Stanford University Press.
Bröckling, Ulrich. 2015. The Entrepreneurial Self: Fabricating a New Type of Subject. 1st edition. Los Angeles: SAGE Publications Ltd.
Cant, Callum. 2020. Riding for Deliveroo: Resistance in the New Economy. Cambridge: Polity.
De Stefano, Valerio. 2016. “The Rise of the Just-in-Time Workforce: On-Demand Work, Crowdwork, and Labor Protection in the Gig-Economy.” Comparative Labor Law & Policy Journal 37: 471–504.
Deleuze, Gilles. 1992. “Postscript on the Societies of Control.” October 59(Winter): 3–7.
Foucault, Michel. 2008. The Birth of Biopolitics. Basingstoke: Palgrave.
Griesbach, Kathleen, Adam Reich, Luke Elliott-Negri, and Ruth Milkman. 2019. “Algorithmic Control in Platform Food Delivery Work.” Socius 5(January): 1-15.
Han, Byung-Chul. 2017. Psychopolitics: Neoliberalism and New Technologies of Power. Translated by Erik Butler. London: Verso.
Hewison, Kevin, and Woradul Tularak. 2013. “Thailand and Precarious Work: An Assessment.” American Behavioral Scientist 57(4): 444–67.
Joyce, Simon, Denis Neumann, Vera Trappmann, and Charles Umney. 2020. “A Global Struggle: Worker Protest in the Platform Economy.” SSRN Scholarly Paper ID 3540104. Rochester, NY: Social Science Research Network.
Scharff, Christina. 2016. “The Psychic Life of Neoliberalism: Mapping the Contours of Entrepreneurial Subjectivity.” Theory, Culture & Society 33(6): 107–22.
Srnicek, Nick. 2016. Platform Capitalism. 1st edition. Cambridge, UK ; Malden, MA: Polity.
Standing, Guy. 2014. “The Precariat.” Contexts 13(4): 10–12.
Stewart, Andrew, and Jim Stanford. 2017. “Regulating Work in the Gig Economy: What Are the Options?” The Economic and Labour Relations Review 28(3): 420–37.
Stockhammer, Engelbert. 2006. “Uncertainty, Class, and Power.” International Journal of Political Economy 35(4): 31–49.
Vallas, Steven, and Juliet B. Schor. 2020. “What Do Platforms Do? Understanding the Gig Economy.” Annual Review of Sociology 46(1): 273–94.
Woodcock, Jamie. 2021. The Fight Against Platform Capitalism: An Inquiry into the Global Struggles of the Gig Economy. London: University of Westminster Press.
Woodcock, Jamie, and Mark Graham. 2020. The Gig Economy: A Critical Introduction. 1st edition. Cambridge, MA: Polity.
Woodside, Jonathan, Tara Vinodrai, and Markus Moos. 2021. “Bottom-up Strategies, Platform Worker Power and Local Action: Learning from Ridehailing Drivers.” Local Economy 36 (4): 325–43.
Zuboff, Shoshana. 2019. The Age of Surveillance Capitalism: The Fight for a Human Future at the New Frontier of Power. New York: Public Affairs.
Zukerfeld, Mariano. 2021. “Platforms and Exploitation in Informational Capitalism.” In Work and Labour Relations in Global Platform Capitalism, edited by Julieta Haidar and Maarten Keune. Cheltenham: Edward Elgar Publishing.
กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. 2562. “รูปแบบของงานที่ไม่มีมาตรฐานและแรงงานที่มีความเสี่ยงในเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม.” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4(2): 59–108.
เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร และวรดุลย์ ตุลารักษ์. 2563. รูปแบบงานใหม่ของคนขี่มอเตอร์ไซต์ส่งอาหารที่กํากับโดยแพลตฟอร์ม. มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท.
ตะวัน วรรณรัตน์. 2557. “การศึกษาแรงงานนอกระบบในประเทศไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 34(3): 119–50.
ทศพล ทรรศนกุลพันธ์. 2562. “การพัฒนาระบอบกฎหมายเพื่อลดความเหลื่อมล้ำกับกลุ่มแรงงานรับจ้างอิสระที่ได้รับผลกระทบจากความท้าทายในศตวรรษที่ 21.” SRI61M0404. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. 2564. “ย้อนคิดมโนทัศน์ความไม่แน่นอนกับความเสี่ยงในสังคมทันสมัย.” วารสารธรรมศาสตร์ 40(3): 1-32.
ภาวิณี คงฤทธิ์. 2563. “‘ไรเดอร์’ สองล้อที่บิดเบี้ยวของอาชีพแห่งอนาคต.” Decode. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2565 . https://decode.plus/rider-platform-economy/.
ภาสกร ญี่นาง. 2564. “วิกฤตสิทธิแรงงานในเศรษฐกิจยุคดิจิทัล: ปัญหาความขัดแย้งระหว่าง ‘ไรเดอร์’ กับแพลตฟอร์มที่รัฐเพิกเฉย.” วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 14(1): 84–113.
ศรัณย์ จงรักษ์. 2565. “ไรเดอร์ไม่ใช่ลูกจ้าง: ความเบี้ยวบิดของระบบกฎหมายไทย.” วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 14(2): 38–58.
อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ และเกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร. 2561. แพลตฟอร์มอีโคโนมีและผลกระทบต่อแรงงานในภาคบริการ: กรณีศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท.
อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ และอนรรฆ พิทักษ์ธานินท์. 2565. ไรเดอร์-ฮีโร่-โซ่ตรวน: สภาพการทำงานและหลักประกันทางสังคมของแรงงานส่งอาหารบนเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.